Page 47 -
P. 47
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
35
สหกรณในรูปแบบของทีมก็ไดเนื่องจากขอมูลที่เก็บรวบรวมนั้นมีความเชื่อมโยงกับทุกฝายในการดําเนินงาน
และเพื่อใหขอมูลที่ไดนั้นมีการทวนสอบเบื้องตนโดยทีมที่ตั้งเพื่อใหขอมูลที่ไดมีความสมบูรณและถูกตองสูงสุด
ทั้งนี้เพื่อใหการเก็บรวบรวมขอมูลไดขอมูลที่ถูกตองสมบูรณ และเพิ่มความเชื่อมั่นกับทางฟารมและสหกรณวา
เปนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อดําเนินการวิจัย รวมถึงจะไดบริบทในพื้นที่จริงจึงทําการประสานผานทาง
สํานักงานปศุสัตวอําเภอและขอความอนุเคราะหเจาหนาที่ของสํานักงานลงพื้นที่รวมกันทุกครั้งในการเก็บ
รวบรวมขอมูลโดยการศึกษานี้จะทําการเก็บขอมูลยอนหลังตั้งแตป พ.ศ. 2555 - 2557 เพื่อสะทอนใหเห็นการ
ประเมินสถานะปจจุบันและแนวโนมของผลิตภาพสีเขียวตลอดหวงโซอุปทานของสหกรณโคนมในภาคกลาง
และเก็บขอมูลเพิ่มเติมในสวนของ 2558 ในการพัฒนาขอเสนอทางเทคโนโลยีสะอาด
3.5 การคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกของหวงโซอุปทานสหกรณโคนม
การคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจก (Calculation of GHG Emission) สามารถคํานวณไดโดยใช
หลักการการประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment: LCA) ซึ่งเปนหลักการตาม
มาตรฐานสากล ISO 14040, 14044 ที่ใชสําหรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมตลอดวัฏจักร โดยคํานวณ
ไดจากสูตร
ภาพที่ 3-4 สูตรการคํานวณปริมาณกาซเรือนกระจกขององคกร
สําหรับคาแฟกเตอรการปลอยที่นิยมนํามาใชเปนหลักสากล ไดแก คาแฟกเตอรการปลอยอางอิงตาม
แนวทางของ The Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) หรือจากฐานขอมูลระดับชาติ
ของแตละประเทศ เปนตน โดยรายละเอียดคาแฟกเตอรการปลอยที่นํามาใชในการศึกษาครั้งนี้ รวมถึงสูตรการ
คํานวณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการหมักในลําไสโคและมูลโต แสดงไวในภาคผนวก ค.
3.6 การประเมินผลิตภาพสีเขียวของหวงโซอุปทานสหกรณโคนม
การประเมินคาผลิตภาพสีเขียวของหวงโซอุปทานสหกรณโคนมนั้นไดดัดแปลงจากวิธีการประเมินของ
Mariminet al. (2015) โดยใชอัตราสวนของความสัมพันธที่ไดจากอัตราสวนของตัวชี้วัดทางเศรษฐศาสตรและ
สิ่งแวดลอมดังแสดงในสมการ 1