Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
37
ตารางที่ 3-1 ตัวชี้วัดทางสิ่งแวดลอมและคาน้ําหนักที่ใชในการคํานวณผลิตสีเขียวในการศึกษาครั้งนี้
ตัวชี้วัดคาน้ําหนักของ การเทียบเคียง การใหคา การผนวกตัวชี้วัด การใหคาน้ําหนัก
ตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียว กับ น้ําหนักของ เพื่อใหคาน้ําหนัก ของตัวชี้วัดผลิต
ESI indicators ESI (x) ภาพสีเขียว
(x/0.3)
ปริมาณการใชอาหาร Reducing solid 0.05 0.05 0.17
ปริมาณน้ํามัน waste and
ปริมาณการใชไฟฟา consumption
ปริมาณการใชสารเคมี
ปริมาณของเสีย
ปริมาณการใชน้ํา Water quantity 0.05 0.10 0.33
Water quality 0.05
ปริมาณการปลอยกาช Air quality 0.05 0.15 0.50
เรือนกระจก Greenhouse 0.05
gas emissions
Reducing air 0.05
pollution
รวม 0.30
3.7 การวิเคราะหสายธารแหงคุณคา
หลังจากการเก็บรวบรวมขอมูลตลอดหวงโซอุปทานของสหกรณโคนมทั้งหมดเรียบรอยแลว จึงนํามา
จัดทําแผนผังสายธารคุณคาเพื่อแสดงใหเห็นถึงสถานการณปจจุบันและแนวโนมในแตละป โดยการเขียน
รูปภาพแสดงการไหลของผลิตภัณฑ ตั้งแตการเลี้ยงโคนมไปจนถึงผูผลิตขั้นสุดทาย และทําการระบุถึงปริมาณ
และสาเหตุของการใชทรัพยากรที่สิ้นเปลือง โดยเมื่อสามารถวิเคราะหสายธารคุณคาตลอดหวงโซอุปทาน
สหกรณโคนมสําเร็จนั้น จะทําใหเห็นถึงปจจัยที่มีผลตอการใชทรัพยากรและการเกิดของเสียตลอดหวงโซ
อุปทานสหกรณโคนมทั้งในสวนของฟารมและสหกรณได เพื่อพัฒนาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ในขั้นตอนตอไป
3.8 การพัฒนาแนวทางในเพิ่มผลิตภาพสีเขียวตลอดหวงโซอุปทานสหกรณโคนมดวยเทคโนโลยีสะอาด
การพัฒนาแนวทางนั้นจะตองพิจารณาทั้งดานเทคโนโลยี ดานเศรษฐศาสตร และดานสิ่งแวดลอมซึ่ง
แตละประเด็นจะคัดเลือกมาจากปจจัยที่ทําใหเกิดการสูญเสียในการใชทรัพยากรตามตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียว
ทางสิ่งแวดลอมที่พัฒนาไดโดยเลือกศึกษาจากขอมูลในปพ.ศ.2557 มาใชในการประเมินโดยแบงออกเปนการ
ตรวจประเมินเบื้องตนและการตรวจประเมินอยางละเอียด (ดัดแปลงมาจากประชาสรรณ แสนภักดี, 2553)
ดังนี้
3.7.1 การตรวจประเมินเบื้องตนจะมีประเด็นในการพิจารณา 3 ขั้นตอน ดังนี้
1) การปรับปรุงดานเทคนิค เพื่อประเมินความเปนไปไดในการปรับปรุงทางดานเทคโนโลยี
2) การปรับปรุงดานเศรษฐศาสตร เพื่อประเมินคาใชจายที่ใชในการดําเนินงาน