Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                       34

                                                        ผลพลอยได
                                                      (By product)




                              Input                  ฟารมโคนม                  Output
                       วัตถุดิบ พลังงาน น้ํา         และสหกรณโคม               ผลิตภัณฑ




                                                        กากของเสีย
                                                          (Waste)


                           ภาพที่ 3-3 แผนภาพการไหลแสดงสารขาเขาและออก (Material flow analysis)

               3.3 การพัฒนาแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล

                       การพัฒนาเปนแบบสอบถามเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลผลิตภาพสีเขียวของสหกรณโคนมนั้นจะนําเคา
               โครงมาจากตัวชี้วัดที่ผานการประชุมรวมกับผูทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เพื่อใหแบบสอบถามมีความเหมาะสมในการ
               นําไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูลและไมเกิดผลกระทบทางจริยธรรมในคนจากการใชแบบสอบถาม ทางทีมวิจัย

               จึงตองใหแบบสอบถามดังกลาวกอนนําไปใชตองผานการรับรองทางดานจริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรม
               ในคนสายสังคม ของมหาวิทยาลัยมหิดล

               3.4 การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม
                       ทําการเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิตามแบบสอบถามที่ไดผานการประเมินจากคณะกรรมการจริยธรรม

               ในคนสายสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (รายละเอียดดังแสดงในภาคผนวก ข) ถึงการดําเนินงานทางดาน
               เศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมของฟารมโคนมในภาคกลางของประเทศไทย ทั้งนี้ตองทําการเก็บฟารมโคนมที่
               เปนฟารมขนาดเล็ก (ฟารมที่มีจํานวนแมโคไมเกิน 20 ตัว) ขนาดกลาง (ฟารมที่มีจํานวนแมโคอยูระหวาง 21-

               100 ตัว) และ ฟารมขนาดใหญ (ฟารมที่มีจํานวนแมโคเกินกวา 100 ตัว) (วิโรจน ภัทรจินดา, 2557) รวม
               ทั้งหมดจํานวน 30 ฟารมโคนมเพื่อใหฟารมโคนมที่เก็บรวบรวมไดนั้นเปนตัวแทนของฟารมโคนมของภาคกลาง
               ได อีกทั้งในสวนของสหกรณโคนมจะทําการเก็บรวบรวมในสหกรณฟารมโคนมขนาดเล็ก (ผลิตน้ํานมไมเกิน 8
               ตัน/วัน) กลาง (ผลิตน้ํานม 8-12 ตัน/วัน) และ ใหญ (ผลิตน้ํานมเกินกวา 12 ตัน/วัน) จํานวนทั้งหมด 9

               สหกรณ โดยกําหนดมาจากขอมูลของการสงนมดิบของสหกรณในเขตภาคกลางถึงองคการสงเสริมกิจการโคนม
               แหงประเทศไทย (141 ตัน/วัน/13 สหกรณ) นอกจากนี้คณะผูวิจัยจะเนนฟารมโคนมและสหกรณที่มีความ
               พรอมและใหความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลดวยความเต็มใจ ทั้งนี้กระบวนการเก็บรวบรวมขอมูลจะ
               ดําเนินการรวมกันระหวางเกษตรกรและทีมวิจัย โดยจะทําความเขาใจรวมกันในการเก็บขอมูลดวยฐานคิด

               เดียวกัน จึงทําใหขอมูลมีคาใกลเคียงความเปนจริงทั้งสามสิบฟารม เนื่องจากในการเก็บรวบขอมูลนั้นอาจจะไม
               เสร็จสิ้นภายในครั้งเดียว มีการเก็บขอมูลเชิงลึกในดานการดําเนินการของกิจการทางสิ่งแวดลอมและอาจมี
               ขอมูลบางสวนซึ่งเปนความลับในสวนขอมูลทางดานเศรษฐศาสตร เชน รายได และตนทุนในการดําเนินงาน
               เปนตน โดยในกระบวนการเก็บขอมูลนั้นจะใหตัวแทนของฟารมและสหกรณโคนมเขามามีสวนรวมในการเก็บ

               รวบรวมขอมูลตามแบบสอบถาม ซึ่งในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นอาจเปนการเก็บขอมูลกับทางเกษตรกรและ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51