Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                       33

               3.1 การทบทวนขอมูลและวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการวิจัย
                       ทําการทบทวนขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารอางอิงและผลการศึกษาที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานตลอด

               หวงโซอุปทานของสหกรณโคนม การวิเคราะหสายธารแหงคุณคาและผลิตภาพสีเขียว อีกทั้งจะทําการทบทวน
               วรรณกรรมเพิ่มเติมจากการศึกษาหวงโซอุปทานในการผลิตโคนม ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
               (สกว.)  และนโยบายการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการผลิตโคนม จากสํานักงานพัฒนา
               วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ถึงโอกาสและความเสี่ยงตลอดหวงโซการผลิต จากนั้นทําการ

               สรุปขอมูลเบื้องตนเพื่อนําไปทวนสอบกับพื้นที่จริงทั้งในสวนของฟารมโคนมและสหกรณโคนมดวยการ
               สัมภาษณและสังเกตจากการดําเนินงานในพื้นที่ เพื่อนําไปใชในสวนของการศึกษาสวนถัดไป




















                             ภาพที่ 3-2 ภาพตัวอยางการทวนสอบขอมูลในฟารมโคนมและสหกรณโคนม


               3.2 การพัฒนาตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียวของสหกรณโคนม
                       ในการพัฒนาตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียวของสหกรณโคนม ประกอบดวยตัวชี้วัดดานเศรษฐศาสตรและ
               ดานสิ่งแวดลอม ซึ่งมีรายละเอียดในพัฒนาตัวชี้วัดดังตอไปนี้
                       3.2.1 การพัฒนาตัวชี้วัดทางเศรษฐศาสตรนั้นจะใชคาของกําไร ซึ่งเปนอัตราระหวางราคาขายและ

               ตนทุนในการผลิตในหนวยการผลิตที่เทากัน (Mariminet al., 2015)
                       3.2.2 การพัฒนาตัวชี้วัดทางสิ่งแวดลอมนั้นจะพิจารณาจากขอมูลพื้นฐานที่ไดจากการทวนสอบมา
               สรางเปนแผนภาพการไหลซึ่งอาศัยหลักการสมดุลมวลของสารเขาและออกของหวงโซอุปทานของสหกรณโค
               นม รวมไปถึงผลพลอยไดจากการดําเนินงาน แลวจึงนําไปเทียบเคียงกับตัวชี้วัดมาตรฐานของ Gandhi et al.

               (2006) จากนั้นจึงคัดเลือกเฉพาะผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่มีนัยสําคัญตอการดําเนินงานนํามาใชเปนตัวชี้วัด
               ทางดานสิ่งแวดลอม
                       3.2.3 ทวนสอบความเชื่อมั่นของตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียวทั้งทางดานเศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมโดย
               การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับผูทรงคุณวุฒิ (แสดงในภาคผนวก ก) ที่มีความรูและเชี่ยวชาญในการผลิต

               และอุตสาหกรรมการผลิตโคนมจํานวนอยางนอย 3 ทาน ทางดานเศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอม และ ปศุสัตว
               เพื่อใหขอเสนอแนะและแนวทางแกไขใหตัวชี้วัดผลิตภาพสีเขียวที่ไดใหมีความถูกตอง ครอบคลุม และสามารถ
               นําไปใชในการประเมินไดจริง
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50