Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       30




               2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวของ
                       Chand Prem et al (2015) ทําการพัฒนาประเมินความยั่งยืนของฟารมโคนมขนาดเล็กในทางตะวัน
               เฉียงเหนือของอินเดีย ผลการศึกษา พบวา คาเฉลี่ยการดําเนินงานดานนิเวศวิทยามีคาสูงสุดในสามดาน ทั้งนี้
               จุดออนในดานการจัดการของฟารมขนาดเล็ก คือ การจัดการผลผลิตอาหาร การจัดการพันธุกรรมของสัตว
               และการเทากันของเพศสัตว นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบอีกวา ความสัมพันธทางตรงของสถานะทาง

               เศรษฐศาสตรนั้นมีผลโดยตรงกับขนาดของฝูงสัตวและการเพิ่มปริมาณของจํานวนสัตวจากหาเปนหกตัวนั้นจะ
               เปนยุทธศาสตรที่ดีในการผลผลิตของนมและความมั่นคงทางเศรษฐศาสตร
                       Mariminet al. (2015) ทําการประยุกตใชแผนผังสายธารคุณคาในการวิเคราะหผลิตภาพสีเขียว

               ตลอดหวงโซอุปทานของยางธรรมชาติ ผลการศึกษา พบวา การปรับปรุงการปลูกยางรวมกับการลดปริมาณ
               ของเสียใหนอยที่สุดเปนแนวทางที่สําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตยางธรรมชาติตลอดหวงโซอุปทาน
               ของประเทศมาเลเซีย
                       Al-Tahat MD. (2010) ทําการประยุกตใชแผนผังสายธารคุณคาในการประเมินรูปแบบการตัดสินใจ

               ในการผลิต ผลการศึกษา พบวา รูปแบบในการผลิตสินคานั้นมีศักยภาพสูงขึ้น เนื่องจากเปนการจัดลําดับ
               ความคิดในการตัดสินใจอยางเปนระบบโดยพื้นฐานมาจากการใชแผนผังสายธารคุณคา
                       โสภิตา ศิลาออน (2552) ทําการประยุกตใชแผนผังสายธารคุณคาและเทคนิคแบบลีนในอุตสาหกรรม
               ผลิตยาและเวชภัณฑ ผลการศึกษา พบวา ผลจากการประยุกตใชเทคนิคดังกลาวสงผลใหมีประสิทธิภาพการ

               ปรับปรุงกระบวนการผลิตยาลดระยะเวลาในการผลิตจาก 19 วัน เปน 9 วัน ซึ่งถือไดวาเปนการเพิ่ม
               ประสิทธิภาพในการผลิตและลดตนทุนในการผลิตอยางสูง
                       รุจินารี ถิรวัฒนกุล (2553) ทําการประยุกตใชแผนผังสายธารคุณคาเพื่อเสนอแนวทางในการการ
               พัฒนาหวงโซอุปทานการสงออกกลวยไมตัดดอกของประเทศไทยไปญี่ปุน ผลจากการศึกษา พบวา

               กระบวนการที่ควรปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คือ การเก็บรักษาดอกกลวยไมรอการขนสงไป
               สนามบินและรอดําเนินพิธีการสงออก การเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงที่มีการดําเนินการไดดีกวาประเทศ
               ไทย ในดานการกําจัดศัตรูพืช การขนสงดอกไม และคุณภาพของการปลูกเปนตน

                       บุรินทร พุทธโชติ (2554) ทําการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตชุดชั้นในสตรี โดยทําการ
               วิเคราะหถึงปจจัยตาง ๆ ที่ทําใหเกิดวามสูญเปลาโดยใชแผนภูมิสายธารคุณคา ผลจากการศึกษา พบวา จาก
               การดําเนินการแกไขดวยหลักการดังกลาวทําใหสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากเดิมที่ผลิตได 180 ตัวตอ
               วัน เปน 240 ตัวตอวัน หรือคิดเปน 33 %
                       ชุติมณฑน เทพเรืองชัย (2555) ทําการเพิ่มประสิทธิภาพของสายการผลิตและลดกระบวนการของ

               สายการผลิตสมุดโดยนําหลักการสายธารแหงคุณคามาวิเคราะหความสูญเปลาที่เกิดขึ้นในสายการผลิต พบวา
               จุดที่ทําใหเกิดความสูญเปลา ไดแก เครื่องตีเสนกระดาษและการจัดวางผังเครื่องจักรที่ไมเหมาะสม โดยเมื่อ
               ปรับปรุงกระบวนการผลิตตามขอเสนอแนะ พบวา สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไดถึง 14.66 %

                       อมกฤต สิทธิชินวงศ (2556) ทําการหาคาดัชนีผลิตภาพสีเขียว กรณีศึกษาพริกใหม ตั้งแตการเพาะ
               ตะกรา การเตรียมดิน การปลูกและการบํารุงรักษาและการเก็บเกี่ยว ผลการศึกษา พบวา การปรับปรุงเพื่อเพิ่ม
               ผลิตภาพและลดกระทบสิ่งแวดลอมในการผลิตพริกใหญ คือ การลดปริมาณการใชปุยลงตามความตองการธาตุ
               อาหารของพริกและการลดจํานวนการไถเตรียมดิน ทั้งนี้ผลการศึกษานี้สามารถนําไปใชในการปรับปรุงการ

               ผลิตพริกใหญไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งการเพิ่มลิตภาพและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมควบคูกันตามแนวคิด
               ผลิตภาพสีเขียว
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47