Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ตัวแปร                            Pooled OLS         Random Effects           Household

                                                                                                Fixed Effects
                   ปริมาณน้ําฝนปปจจุบัน         1.512***    (3.60)    2.236***    (5.14)    0.360***    (5.48)

                   ปริมาณน้ําฝนปที่ผานมา        1.117***    (2.69)    1.375***    (3.56)    0.584***    (5.50)

                   อายุหัวหนาครัวเรือน            -1.469     (-1.12)    -1.485     (-0.97)    -1.564     (-0.90)
                   อายุหัวหนาครัวเรือนกําลังสอง   0.163      (0.99)     0.170      (0.87)     0.183      (0.82)

                   หัวหนาครัวเรือนเปนเพศหญิง(=1)   -0.046*   (-1.84)   -0.046     (-1.33)    -0.045     (-0.97)

                   หัวหนาครัวเรือนเรียนจบระดับ   0.118***    (2.73)    0.143**     (2.49)     0.124*     (1.67)
                   มัธยมตนหรือสูงกวา (=1)

                   ขอจํากัดดานสินเชื่อ (=1)     -0.109**  (-2.26)      -0.068     (-1.38)    -0.044     (-0.87)

                   จังหวัดบุรีรัมย (=1)           -0.179*    (-1.89)   -0.227**    (-2.42)
                   จังหวัดลพบุรี (=1)              0.565**    (2.41)    0.564***    (2.62)

                   จังหวัดศรีสะเกษ (=1)           -0.318***  (-3.68)  -0.436***  (-4.97)

                   จํานวนตัวอยาง                   4992                 4992                  4992
                    2
                   R                               0.641                 0.404                 0.401
                   หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงคา t statistics

                   * p< 0.1, ** p< 0.05, *** p< 0.01


                          จํานวนพื้นที่ทํากิน จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเทียบเทาผูใหญ (แรงงานเทียบเทาในครัวเรือน)

                   มูลคาทรัพยสินทางการเกษตร คาใชจายในการทําการเกษตร และปริมาณน้ําฝน ลวนมีความสัมพันธใน
                   ทิศทางเดียวกันกับมูลคาผลผลิตการเกษตร (รายไดจากการเกษตร) ซึ่งเปนตัวแปรตามในแบบจําลอง

                   ฟงกชันการผลิตนี้ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรอิสระที่ไดจากการประมาณคานั้นสอดคลองกับที่ไดคาดคะเน

                   ไว ที่ระดับความเชื่อมั่นอยางนอย 10% พื้นที่ทําการเกษตรเพิ่มขึ้นหนึ่งเทาทําใหรายไดการเกษตรเพิ่มขึ้น
                   เพียงรอยละ 30 ผลที่ไดนี้สอดคลองกับความสัมพันธแบบผกผันของขนาดและผลิตผลของฟารม (inverse

                   farm  size-productivity  relationship) ซึ่งพบไดในหลายงานวิจัย (Barrett  et  al.,  2010;  Jin  and

                   Jayne,  2013) ถาคาใชจายในการทําการเกษตรเพิ่มขึ้นหนึ่งเทาจะทําใหรายไดการเกษตรเพิ่มขึ้นรอยละ
                   20 สะทอนใหเห็นถึงการเพิ่มขึ้นของผลผลิตจากการการใชปจจัยการผลิตที่มากขึ้น ถามูลคาทรัพยสินทาง

                   การเกษตรเพิ่มขึ้นหนึ่งเทาจะทําใหรายไดการเกษตรเพิ่มขึ้นรอยละ 2 ประเด็นนี้นาเปนกังวล เพราะในชวง

                   14 ปนี้พบวาครัวเรือนมีการสะสมทรัพยสินทางเกษตรมากขึ้นเรื่อย โดยเฉพาะอยางยิ่งทรัพยสินประเภท
                   เครื่องมือและเครื่องจักรกลทางการเกษตร แตผลที่ไดกลับชี้วาทรัพยสินเหลานี้ชวยใหรายไดของครัวเรือน

                   เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น แสดงใหเห็นวาเกษตรกรขาดประสิทธิภาพในการใชเครื่องมือเครื่องจักรใน

                   การทําการผลิต ซึ่งอาจเกิดจากอายุของหัวหนาครัวเรือนที่คอนขางสูง หรืออาจเนื่องดวยขนาดที่ดินทํากิน








                                                             5-22
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78