Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ที่คอนขางจํากัดหรืออยูกระจัดกระจายทําใหการใชเครื่องมือเครื่องจักรไมเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเทียบกับ

                   กรณีที่ดินแปลงใหญ
                          อายุหัวหนาครัวเรือน เพศของหัวหนาครัวเรือน และจํานวนสมาชิกครัวเรือนเทียบเทาผูใหญ ไมมี

                   ความสัมพันธกับรายไดการเกษตรอยางมีนัยสําคัญ การลดบทบาทของปจจัยเหลานี้สะทอนใหเห็นถึง

                   รูปแบบการทําเกษตรในยุคปจจุบันที่เนนการจางแรงงานและการเชาเครื่องจักรทั้งในกระบวนการผลิตและ
                   เก็บเกี่ยว เพื่อลดการพึ่งพิงแรงงานในครัวเรือนซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง เพราะสมาชิกในครัวเรือน

                   ที่ไดรับการศึกษาสูงขึ้นก็หันไปประกอบอาชีพอื่นนอกภาคเกษตร สวนสมาชิกที่ยังอยูก็อาจมีอายุเยอะหรือ

                   อยูในวัยเรียน เชนเดียวกัน แมวาเพศชายที่แตเดิมเคยเปนหัวหนาครัวเรือนก็ยายไปทํางานใน
                   ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ หรือภาคขนสง มากขึ้น แตสัดสวนของหัวหนาครัวเรือนเพศหญิงที่สูงขึ้น

                   ไมไดสงผลกระทบตอรายไดภาคเกษตร

                          มูลคาผลผลิตทางการเกษตรของครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมตน
                   หรือสูงกวาสูงกวาครัวเรือนที่หัวหนาครัวเรือนมีวุฒิการศึกษาต่ํากวารอยละ 12.40  โดยเฉลี่ย ความ

                   แตกตางดังกลาวของรายไดถือวาคอนขางสูงเมื่อเทียบกับระดับการศึกษาเพียงระดับมัธยมตน แตตองไม

                   ลืมวาวุฒิมัธยมตนกับวุฒิประถมศึกษาหรือการไมมีวุฒิการศึกษาเลยอาจหมายถึงความแตกตางดาน
                   ความสามารถในการอานออกเขียนไดและการวิเคราะหเชิงปริมาณ ซึ่งเปนความสามารถขั้นพื้นฐานที่

                   จําเปนตอการประกอบอาชีพ ดั้งนั้นจึงไมแนแปลกใจที่จะพบวาระดับการศึกษามีผลตอรายไดครัวเรือน

                   อยางไรก็ตาม คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรนี้อยูที่ระดับรอยละ 10 เทานั้น ซึ่งเปนเพราะหัวหนาครัวเรือน
                   สวนมากในกลุมตัวอยางมีการศึกษาระดับประถมศึกษา (ราวรอยละ 90) ใขณะที่สัดสวนหัวหนาครัวเรือน

                   ที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมตนมีไมมาก (ราวรอยละ 10) สงผลใหความแตกตางของคาตัวแปรหุนของกลุ

                   มตัวอยางมีไมมาก
                          การเขาถึงแหลงสินเชื่อไมเปนอุปสรรคสําหรับเกษตรกร ซึ่งก็ไมนาแปลกใจแตอยางใด เนื่องจาก

                   กวารอยละ 80 ของครัวเรือนระบุวาสามารถกูยืมเงินจากสถาบันการเงินได อยางไรก็ตาม เนื่องจากการ

                   เขาถึงแหลงสินเชื่อเปนเพียงตัวแปรหุน ดังนั้นจึงไมสามารถบอกไดถึงจํานวน (มูลคา) สินเชื่อที่แตละ
                   ครัวเรือนสามารถกูยืมได จึงอาจเปนไปไดวาแมวาเกษตรกรจะสามารถเขาถึงแหลงสินเชื่อและการเขาถึง

                   แหลงสินเชื่อเองจะไมสงผลตอรายไดภาคเกษตร แตวงเงินสินเชื่ออาจมีบทบาทที่สําคัญตอการผลิตและ

                   รายไดของครัวเรือน เมื่อพิจารณาแบบจําลอง Pooled OLS และ Random Effect พบวา คาสัมประสิทธิ์
                   ของตัวแปรหุนแสดงจังหวัดที่ครัวเรือนอาศัยอยูลวนมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงใหเห็นวาการผลิตและ

                   รายไดของเกษตรกรจาก 4 จังหวัด มีความแตกตางกันอยางชัดเจน เนื่องดวยปจจัยทางกายภาพตางๆ

                   (เชน สภาพดิน ระบบชลประทาน เปนตน) เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งฐาน พบวา รายได
                   จากการผลิตตอครัวเรือนของเกษตรกรในจังหวัดลพบุรีสูงวาเกษตรกรในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในขณะที่

                   เกษตรกรในภาคอีสานดอยกวา ปริมาณน้ําฝนทั้งในปกอนหนาและปปจจุบันมีบทบาทสําคัญตอรายได

                   การเกษตร เพราะปกติแลวเกษตรกรวางแผนการเพาะปลูกลวงหนา (เชน กําหนดขนาดพื้นที่เพาะปลูก







                                                             5-23
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79