Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ตาราง 5.16 ความยืดหยุนของความนาจะเปนในการมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดิน

                                                                      ความยืดหยุน
                   ตัวแปร
                                                      ปลอยเชา      ไมเชาและไมปลอยเชา   เชา

                   จํานวนสมาชิกเทียบเทาผูใหญ        -0.014              -0.078            0.092
                   จํานวนที่ดินถือครอง                  0.029               0.158           -0.187

                   ความสามารถทางการเกษตร*              -0.010              -0.087            0.097

                   หมายเหตุ : * คาความยืดหยุนของครัวเรือนที่มีความสามารถทางการเกษตรที่เปอรเซ็นไทลที่ 90
                   เทียบกับครัวเรือนที่มีความสามารถเทากับคาเฉลี่ย


                          เพื่อใหการแปรความหมายของแบบจําลอง Ordered probit model มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
                   คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปรจํานวนสมาชิกเทียบเทาผูใหญ จํานวนที่ดินถือครอง และความสามารถทางการ

                   เกษตร ที่แสดงไวในตาราง 5.15 ถูกนํามาคํานวณหาคาความยืดหยุนของความนาจะเปนในการตัดสินใจ

                   เชาและปลอยเชาที่ดิน ซึ่งแสดงถึงสัดสวนการเปลี่ยนแปลงของโอกาสในการมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดิน
                   คาความยืดหยุนที่คํานวณไดแสดงไวในตาราง 5.16 โดยผลที่ไดจะชวยตอบสมมติฐานเกี่ยวกับบทบาทของ

                   ตลาดเชาที่ดินตอการลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดิน และสมมติฐานวาดวยการถายโอนที่ดินจาก

                   ครัวเรือนที่มีความสามารถในการผลิตต่ําแตมีที่ดินมากไปยังครัวเรือนที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสูงแต
                   ขาดแคลนที่ดิน


                          เมื่อพิจารณาจากคาความยืดหยุนของโอกาสการมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดินตอจํานวนสมาชิกใน
                   ครัวเรือนเทียบเทาผูใหญ พบวา ถาครัวเรือนเกษตรมีจํานวนแรงงานเทียบเทาเพิ่มขึ้น 1 เทา จะทําให

                   ความนาจะเปนที่ครัวเรือนนั้นจะเปนผูเชาที่ดินเพิ่มขึ้นรอยละ 9.2  และทําใหความนาจะเปนที่ครัวเรือน

                   นั้นจะเปนผูไมเขารวมในตลาดเชาที่ดิน และเปนผูใหเชาที่ดินลดลงรอยละ 7.8 และ 1.4  ตามลําดับ ดังที่
                   อธิบายแลวในขางตน ผลดังกลาวนี้หมายความวาครัวเรือนเกษตรที่มีจํานวนแรงงานในครัวเรือนมาก จะมี

                   ความเปนไปไดที่จะเปนผูเชาที่ดินมากกวาครัวเรือนเกษตรที่มีจํานวนแรงงานในครัวเรือนนอย ในกรณี

                   ที่ดินถือครอง พบวา ถาครัวเรือนเกษตรมีจํานวนที่ดินถือครองเปนเจาของเพิ่มมากขึ้น 1 เทา จะทําให
                   ความนาจะเปนที่ครัวเรือนนั้นจะเปนผูเชาที่ดินลดลงรอยละ 18.7  และทําใหความนาจะเปนที่ครัวเรือน

                   นั้นจะเปนผูไมเขารวมในตลาดเชาที่ดิน และเปนผูใหเชาที่ดินเพิ่มขึ้นรอยละ 15.8 และ 2.9 ตามลําดับ

                   หมายความวาครัวเรือนเกษตรที่มีที่ดินถือครองมากมีแนวโนมที่จะเปนผูใหเชาที่ดินมากกวาครัวเรือน
                   เกษตรที่มีที่ดินถือครองนอย แสดงใหเห็นวา ตลาดเชาที่ดินทําหนาที่จัดสรรที่ดินเชาใหกับครัวเรือนที่มี

                   แรงงานมากแตมีที่ดินนอย

                          ในกรณีคาความยืดหยุนของโอกาสการมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดินตอความสามารถทาง

                   การเกษตรของครัวเรือนนั้น การแปลความหมายมีความซับซอนขึ้นเล็กนอย เนื่องจากความสามารถการ

                   ผลิตไมสามารถวัดได ดังนั้นจึงจําเปนตองแปลความหมายของคาความยืดหยุนตอความสามารถเทียบ







                                                             5-27
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83