Page 80 -
P. 80
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตาราง 5.17 ผลการประมาณคาของการตัดสินใจมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดินดวย Tobit Model
ตัวแปร ขนาดที่ดินเชา ขนาดที่ดินใหเชา
ความสามารถทางการเกษตร 0.256*** (2.61) -0.024** (-2.35)
สมาชิกครัวเรือนเทียบเทาผูใหญ 0.368*** (4.30) -0.032*** (-3.67)
จํานวนที่ดินถือครอง -0.634*** (-22.95) 0.064*** (20.20)
รายไดจากการเกษตรของปที่แลว 0.624*** (12.41) -0.019*** (-3.99)
มูลคาทรัพยสินทางเกษตร 0.020** (2.14) 0.001 (1.29)
อายุของหัวหนาครัวเรือน 16.550*** (3.54) -0.527 (-1.18)
อายุของหัวหนาครัวเรือนกําลังสอง -2.132*** (-3.61) 0.068 (1.22)
หัวหนาครัวเรือนเปนเพศหญิง (=1) -0.171** (-1.99) -0.031*** (-3.64)
หัวหนาครัวเรือนเรียนจบระดับ -0.093 (-0.67) 0.056*** (3.83)
มัธยมศึกษาตอนตนหรือสูงกวา (=1)
ปริมาณน้ําฝนรายป -0.155 (-0.92) 0.016 (0.99)
ปริมาณน้ําฝนรายปของปที่ผานมา -0.273* (-1.76) 0.020 (1.30)
ขอจํากัดดานสินเชื่อ (=1) 0.056 (0.35) 0.040** (2.42)
บุรีรัมย (=1) -1.241*** (-10.99) -0.077*** (-6.20)
ลพบุรี (=1) -0.395*** (-2.78) -0.027 (-1.63)
ศรีสะเกษ (=1) -2.392*** (-19.65) -0.142*** (-12.22)
จํานวนตัวอยาง 4992 4992
หมายเหตุ: ตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ คือ คา t statistics
* p< 0.1, ** p< 0.05, *** p< 0.01
5.2.4 บทบาทของตลาดเชาที่ดินตอรายไดสุทธิครัวเรือน
ผลการวิเคราะหในสวนนี้จะนําเสนอบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ครัวเรือนเกษตร โดยพิจารณาผลกระทบของขนาดที่ดินเชาและที่ดินปลอยเชาตอรายไดสุทธิ 3 ประเภท
ไดแก รายไดสุทธิรวม รายไดสุทธิจากการเกษตร และรายไดสุทธินอกภาคเกษตร นอกจากนี้ แบบจําลองนี้
จะเปนแบบจําลองหลักที่จะใชอภิปรายผลในเนื้อหาของบทนี้ อยางไรก็ตาม เพื่อใหผลการประมาณคา
แบบจําลองมีความนาเชื่อถือมากขึ้น ตัวแปรหุนซึ่งแสดงการมีสวนรวมของครัวเรือนในฐานะผูเชาที่ดิน (=1
ถามีการเชา และ =0 ถาไมมีการเชา) และผูปลอยเชาที่ดิน (=1 ถามีการปลอยเชา และ =0 ถาไมมีการ
ปลอยเชา) จึงถูกนํามาใชแทนขนาดเนื้อที่เชาและขนาดเนื้อที่ปลอยเชาในแบบจําลองหลัก ตามลําดับ ผลที่
ไดแสดงไวในตาราง 5.18 ตลาดเชาที่ดินมีสวนชวยเพิ่มระดับรายไดสุทธิจากการเกษตร โดยเฉลี่ยพบวา
หากครัวเรือนเชาที่ดินเพิ่มขึ้น 1 ไร จะสงผลใหมีรายไดสุทธิจากการเกษตรเพิ่มขึ้น 1161.57 บาท
5-29