Page 54 -
P. 54

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          แมวาครัวเรือนที่เชาที่ดินทํากินบางสวนจะมีการปลอยเชาที่ดินดวย แตขนาดเนื้อที่ปลอยเชาถือ

                   วานอยมาก (1.25 ไรตอครัวเรือน) เชนเดียวกัน ขนาดเนื้อที่เชาทํากินของครัวเรือนที่อยูในสถานะผูปลอย
                   เชาก็มีขนาดเล็กมาก (0.47 ไรตอครัวเรือน) แสดงใหเห็นถึงความแตกตางดานการถือครองที่ดินระหวาง

                   ครัวเรือนเกษตรทั้งสองสถานะไดอยางชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบป 2013 กับป 2000 พบวา ขนาดพื้นที่เชา

                   ตอครัวเรือนของกลุมครัวเรือนผูเชาที่ดินเพิ่มขึ้นรอยละ 12.04 ในขณะที่ขนาดพื้นที่ปลอยเชาตอครัวเรือน
                   ของกลุมครัวเรือนผูปลอยเชาลงรอยละ 25.90 นั่นหมายความวา การเพิ่มขึ้นของพื้นที่เชาเกิดขึ้นพรอมๆ

                   กับการลดลงพื้นที่ปลอยเชาของครัวเรือนเกษตร คําถามที่นาสนใจคือ เหตุใดครัวเรือนเชาจึงมีความ

                   พยายามที่จะขยายที่ดินทํากินในขณะที่ครัวเรือนผูปลอยเชาพยายามลดที่ดินปลอยเชาลง มีความเปนไปได
                   อยางนอยสองกรณี กรณีแรก การเพิ่มขึ้นของราคาสินคาเกษตรจูงใจใหเกษตรกรขยายพื้นที่เชามากขึ้น

                   สงผลใหคาเชาที่ดินสูงขึ้นจนถึงระดับที่เจาของที่ดินยอมที่จะลดขนาดที่ดินทําการเกษตรของตนเองลงและ

                   หันไปปลอยเชาที่ดินมากขึ้น แตเนื่องจากที่ดินเจาของของเกษตรกรกลุมนี้ลดลงดวยเชนกัน จึงอาจเปนไป
                   ไดวาที่ดินเกษตรไดถูกนําไปใชประโยชนนอกภาคเกษตรหรืออาจไดถูกขายออกไป ซึ่งก็สอดคลองกับอายุ

                   เฉลี่ยของหัวหนาครัวเรือนของเกษตรกรกลุมนี้คอนขางสูง ดังนั้นการแบงขายที่ดินออกไปบางสวนจึงเริ่ม

                   ปรากฎใหเห็น ถาเปนเชนนั้นจริง แสดงวาการเพิ่มขึ้นของที่ดินเชาของเกษตรกรในกลุมผูเชาตองมาจาก
                   การปลอยเชาที่ดินโดยครัวเรือนนอกภาคเกษตร ซึ่งบงบอกวาที่ดินนอกภาคเกษตรเปนอุปทานที่สําคัญ

                   ของตลาดเชาที่ดินสําหรับภาคเกษตรของไทย นอกจากนี้ยังพบวา ครัวเรือนผูเชาที่ดินมีขนาดที่ดินเกษตร

                   เฉลี่ยตอจํานวนสมาชิกเทากับ 9.45 ไรตอคน ซึ่งสูงกวาครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดินซึ่งมีขนาดที่ดินเกษตร
                   เฉลี่ยตอจํานวนสมาชิกเพียง 7.59 ไรตอคน แสดงใหเห็นวา ตลาดเชาที่ดินชวยลดความเหลื่อมล้ําในการ

                   ถือครองที่ดินและชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของครัวเรือน โดยการเคลื่อนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มี

                   แรงงานนอยแตมีที่ดินจํานวนมากไปยังครัวเรือนที่มีแรงงานมากแตขาดแคลนที่ดิน







































                                                             5-3
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59