Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          เมื่อพิจารณาสัดสวนหัวหนาครัวเรือนที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมตนหรือสูงกวา พบวา สัดสวน

                   ดังกลาวของครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินสูงถึงรอยละ 25.32 ในขณะที่เพียงรอยละ 6.17 ของครัวเรือนผูเชา
                   ที่ดินมีหัวหนาครัวเรือนที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมตน เนื่องจากระดับการศึกษาที่สูงหมายถึงโอกาสใน

                   การทํางานนอกภาคเกษตรที่มากขึ้น ดังนั้นหัวหนาครัวเรือนที่มีการศึกษาสูงจึงมีแนวโนมที่จะปลอยเชา

                   ที่ดิน เพื่อที่จะไดจัดสรรเวลาไปประกอบอาชีพอื่นหรือทําอาชีพเสริมนอกภาคการเกษตร หากสมมติฐาน
                   ดังกลาวเปนจริง คาดวารายไดนอกภาคเกษตรของครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดินจะสูงกวาครัวเรือนผูเชาที่ดิน

                   เมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของหัวหนาครัวเรือนที่เปนเพศหญิงระหวางครัวเรือนผูเชาและครัวเรือนผูปลอย

                   เชาที่ดิน พบวาไมแตกตางกันมาก คาเฉลี่ยของสัดสวนดังกลาวตลอดเทากับรอยละ 16.88 และ 18.22
                   ตามลําดับ ที่นาสนใจคือ ครัวเรือนที่ทําเกษตรเฉพาะบนที่ดินตนเองมีสัดสวนหัวหนาครัวเรือนที่เปนเพศ

                   หญิงสูงถึงรอยละ 28.25

                   5.1.2 ขนาดที่ดินถือครองเปนเจาของ ที่ดินเชา และที่ดินปลอยเชา


                          แมวาครัวเรือนที่เชาที่ดินทํากินจะมีขนาดที่ดินถือครองเปนเจาของนอยที่สุดแตกลับมีเนื้อที่ทํา
                   การเกษตรสูงที่สุด แสดงใหเห็นวาตลาดเชาที่ดินกอใหเกิดการเคลื่อนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มีที่ดินมาก

                   ไปยังครัวเรือนที่มีที่ดินนอย ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่วาตลาดเชาที่ดินมีสวนสําคัญตอการลดความ

                   เหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตร จากตาราง 5.2 ขนาดที่ดินที่ครัวเรือนถือครองเปน
                   เจาของเรียงจากมากไปนอย ไดแก ครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดิน เฉลี่ย 50.74 ไรตอครัวเรือน และครัวเรือนที่

                   ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง เฉลี่ย 20.68 ไรตอครัวเรือน ครัวเรือนผูเชาที่ดินทํากิน เฉลี่ย 14.46 ไรตอ

                   ครัวเรือน ตามลําดับ ขนาดที่ดินทําการเกษตรเรียงจากมากไปนอย ไดแก ครัวเรือนผูเชาที่ดินทํากิน เฉลี่ย
                   44.49 ไรตอครัวเรือน ครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดิน เฉลี่ย 32.02 ไรตอครัวเรือน และครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะ

                   บนที่ดินตนเอง เฉลี่ย 23.55 ไรตอครัวเรือน ตามลําดับ

                          ครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินลดขนาดเนื้อที่ทําการเกษตรและขนาดที่ดินที่ตนเองเปนเจาของลงอยาง
                   ชัดเจน ในขณะที่ครัวเรือนอีกสองกลุมมีการปรับเปลี่ยนขนาดที่ดินเพียงเล็กนอยเทานั้น ขนาดที่ดินเกษตร

                   ของครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินเคยสูงถึง 63.28 ไร ในป 2000 แตหลังจากนั้นก็ลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่ง

                   เหลือเพียง 42.26 ไร ในป 2013 ซึ่งคิดเปนการลดลงถึงรอยละ 35.11 ในกรณีครัวเรือนผูเชาที่ดิน พบวา
                   ขนาดที่ดินเกษตรเพิ่มขึ้นจาก 43.02 ไร มาเปน 45.99 ไร ซึ่งคิดเปนการเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 6.91 ในขณะ

                   ที่ครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง พบวามีการลดเนื้อที่ทําการเกษตรลงรอยละ 13.73 จากเดิม

                   25.55 ไร มาเปน 22.04 ไร การลดขนาดพื้นที่ทําการเกษตรของครัวเรือนที่มีการปลอยเชาที่ดินคาดวาเกิด
                   จากการลดขนาดที่ดินที่เกษตรกรเจาของลง ดังจะสังเกตไดวาขนาดที่ดินตนเองของครัวเรือนผูปลอยเชาใน

                   ป 2013 เทียบกับป 2000 ลดลงรอยละ 33.21 ซึ่งใกลเคียงกับอัตราการลดลงของพื้นที่ทําการเกษตรของ

                   ครัวเรือนกลุมนี้ (รอยละ 35.11) ในขณะที่ครัวเรือนผูเชาที่ดินทํากินและครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดิน
                   ตนเองมีการปรับเปลี่ยนขนาดการถือครองที่ดินซึ่งตนเองเปนเจาของเพียงเล็กนอย (เพิ่มขึ้นรอยละ 1.15

                   และลดลงรอยละ -2.50 ตามลําดับ)






                                                             5-2
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58