Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                           บทที่ 5

                                 บทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตร


                          เนื้อหาในบทนี้จะแบงเปน 2 สวน สวนแรกเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของปจจัยที่สําคัญทาง

                   สังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนตลอดชวงเวลา 14 ป ตั้งแตป ค.ศ.2000-2013 โดยมีการจําแนก
                   ครัวเรือนออกเปน 3 กลุม ตามสถานะการมีสวนรวมในตลาดที่ดิน ไดแก ผูเชาที่ดิน (Rent-in) ผูปลอยเชา

                   ที่ดิน (Rent-out) และครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง (Autarky) ปจจัยเหลานี้จะถูกใชเปนตัวแปร

                   อิสระในแบบจําลองเศรษฐมิติเพื่อทดสอบสมมติฐานที่เกี่ยวของกับบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการ
                   พัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตร สวนที่สองแสดงผลการวิเคราะหแบบจําลองเศรษฐมิติจาก 3

                   แบบจําลอง ไดแก 1) แบบจําลองฟงกชันการผลิตแบบ Cobb-Douglas ของครัวเรือน 2) แบบจําลองการ
                   มีสวนรวมในตลาดเชาที่ดินของครัวเรือน  และ 3) แบบจําลองผลกระทบของการเชาที่ดินตอรายไดสุทธิ

                   ของครัวเรือน


                   5.1 ความแตกตางทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนผูเชาและผูปลอยเชาที่ดินเกษตร

                          เนื่องจากความแตกตางของปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจของครัวเรือนที่เปนผูเชาที่ดิน ผูปลอย

                   เชาที่ดิน และครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง คาดวาจะมีบทบาทอยางมากตอประสิทธิภาพในการ
                   ผลิต การมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดิน และรายไดสุทธิของครัวเรือน โดยตัวแปรที่กลาวถึง ไดแก ลักษณะ

                   ทางประชากรของสมาชิกครัวเรือน ขนาดที่ดินถือครอง มูลคาทรัพยสินทางการเกษตร รายไดสุทธิ

                   ครัวเรือน และคาใชจายจากการเกษตร ผลการวิเคราะหเบื้องตนที่ไดจะถูกนําไปใชประกอบการอธิบายผล
                   การศึกษาจากแบบจําลองเศรษฐมิติ


                   5.1.1 จํานวนสมาชิก อายุ เพศ และระดับการศึกษา

                          จากตาราง 5.1 จะเห็นไดวาโครงสรางทางประชากรของครัวเรือนทั้งสามกลุมแตกตางกัน

                   คอนขางชัดเจน อายุและระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน รวมถึงสัดสวนของหัวหนาครัวเรือนที่เปน

                   เพศหญิงของครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินสูงกวาอีกสองกลุม ในขณะที่สมาชิกในครัวเรือนมีจํานวนนอยกวา
                   ในเบื้องตน ความแตกตางของคุณลักษณะดังกลาวนี้ชี้ใหเห็นวาครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินคอนขาง

                   เสียเปรียบในแงการทําเกษตร สงผลใหครัวเรือนตัดสินใจปลอยเชาที่ดินบางสวนออกไป จํานวนสมาชิกใน

                   ครัวเรือนของครัวเรือนผูเชาสูงที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยตลอด 14 ป เทากับ 4.74 คนตอครัวเรือน รองลงมาคือ
                   ครัวเรือนที่ทํากินเฉพาะบนที่ดินของตนเอง เฉลี่ย 4.34 คนตอครัวเรือน ครัวเรือนผูปลอยเชาที่ดินมีจํานวน

                   สมาชิกนอยที่สุด เฉลี่ย 4.15 คนตอครัวเรือน ในป 2013 อายุเฉลี่ยของหัวหนาครัวเรือนที่เปนผูปลอยเชา

                   ที่ดินเทากับ 64.79 ป ในขณะที่อายุเฉลี่ยของหัวหนาครัวเรือนที่เปนผูเชาที่ดินเทากับ 54.99 ป แสดงให
                   เห็นวาอายุเปนขอจํากัดตอการขยายพื้นที่ทําการเกษตร สงผลใหครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนสูงอายุ

                   จําเปนตองปลอยเชาที่ดินเนื่องจากทําเองไมไหว








                                                             5-1
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57