Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ก าหนดให้
คือ อรรถประโยชน์ที่บุคคล n ได้รับจากการบริโภคหรือบริการที่ i
คือ ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ในส่วนที่ก าหนดได้ชัดเจนที่บุคคล n ได้รับจากสินค้าหรือ
บริการที่ i
คือ คุณลักษณะด้านต่างๆ ของสินค้าหรือบริการที่ i
คือ ค่าคลาดเคลื่อนหรืออรรถประโยชน์ส่วนที่ไม่สามารถอธิบายได้ เช่น รสนิยมส่วน
บุคคล เป็นต้น
ภายใต้สถานการณ์ที่ผู้บริโภคมีทางเลือกทั้งหมด J ทางเลือก การที่ผู้บริโภคที่ n จะตัดสินใจ
เลือกทางเลือกที่ i แสดงว่าความพึงพอใจที่ได้จากทางเลือกที่ i มีค่าสูงสุดจากทางเลือกทั้งหมด J
ทางเลือก ซึ่งสามารถเขียนในรูปฟังก์ชันความน่าจะเป็นได้ ดังนี้
( | ) ( ) ( ) และ
( ) และ
( )………….……………………..……………………………..…………………….…..(2)
โดยที่ เป็นผลต่างของค่าคลาดเคลื่อน เมื่อก าหนดให้ มีการแจกแจง
แบบอิสระ และมีลักษณะเหมือนกัน (Independently and identically distributed: IID) กับการ
แจกแจงแบบ extreme value ชนิดที่ 1 โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0 (Champ et al., 2002) สามารถ
วิเคราะห์ฟังก์ชันความน่าจะเป็นที่จะเลือกทางเลือกที่ i จาก J ทางเลือก ได้ดังนี้ (Greene, 1997;
Adamowicz et al., 1998; Hanley et al., 2001; Champ et al., 2002)
( ) ( ( ))…………………………………………………(3)
ซึ่งท าให้ฟังก์ชันความน่าจะเป็นข้างต้น สามารถเขียนใหม่ได้ดังนี้ (Greene, 1997; Champ,
Boyle and Brown, 2002)
( | ) ( ) ………………………………………………………….(4)
∑ ( )
โดยค่า แสดงถึง สัมประสิทธิ์สัดส่วน (Scale Parameter) ซึ่งก าหนดให้เท่ากับ 1
โดยทั่วไปรูปแบบฟังก์ชันอรรถประโยชน์ ( ) จะถูกก าหนดให้อยู่ในรูปแบบสมการเส้นตรง
(Adamowicz et al., 1998; Champ et al, 2002)
7