Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                          4.  การท าสวนผักเพื่อส่งโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร แปลงปลูกมักจะอยู่ใกล้กับที่ตั้งโรงงาน

                   เพื่อง่ายต่อการแนะน า ขนส่ง และควบคุมคุณภาพผลผลิตของโรงงาน
                          5.  การท าสวนผักด้วยวิธีการควบคุมสภาพแวดล้อม โดยส่วนใหญ่จะเป็นการปลูกผักนอก

                   ฤดูกาล หรือมีสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออ านวย โดยจะมีวัตถุประสงค์เพื่อการผสมพันธุ์ หรือปรับปรุงพันธุ์

                   ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วย
                          นอกจากนั้น ยังมีการปลูกผักเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ เป็นการปลูกผักที่ต้องใช้เวลานาน ต้องการ

                   การดูแลรักษามาก และมีความเสี่ยงกว่าการปลูกผักเพื่อการขายผลผลิตสด โดยการปลูกผักเพื่อขาย
                   สดจะใช้เวลาประมาณ 45-60  วันในการให้ผลผลิต แต่การปลูกเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ อาจมีระยะ

                   เวลานานถึง 120-150 วัน

                          จากสถิติของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรปีพ.ศ. 2557  ประเทศไทยมีพื้นที่การท าสวนผัก
                   และไม้ดอกไม้ประดับรวม 1,397,770  ไร่ ซึ่งมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกพืชชนิดอื่น โดยมี

                   พื้นที่เพียงร้อยละ 0.94 ของพื้นที่ท าการเกษตรทั้งประเทศ โดยพื้นที่ที่มีการปลูกผักมากที่สุดจะอยู่ใน
                   ภาคกลางจ านวน 506,538        ไร่ รองลงมาคือภาคเหนือ 446,280        ไร่ ต่อมาเป็นภาค

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ 317,833  ไร่ และภาคใต้ 127,119  ไร่ และเมื่อพิจารณาจังหวัดที่มีการท าสวน

                   ผักและไม้ดอกไม้ประดับสูงที่สุดคือคือ จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ปลูก 122,911  ไร่ ต่อมาคือจังหวัด
                   ราชบุรี 61,662 ไร่ และเชียงราย 60,268 ไร่ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558) แต่อย่างไรก็ตาม

                   แม้ว่าพื้นที่ปลูกผักจะมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่การเกษตรอื่นๆ แต่พืชผักเป็นพืชที่มีอายุสั้น คือ

                   มีอายุประมาณ 45-60  วันก็สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ส่งผลให้ผักมีปริมาณเพียงพอต่อการบริโภค
                   โดยพืชผักเป็นพืชที่สามารถให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปี แต่จะมีปริมาณผลผลิตสูงสุดในช่วงฤดูหนาว หรือ

                   ในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ของทุกปี ซึ่งพืชผักที่มีการปลูกสูงที่สุดในประเทศไทย 10 อันดับแรก
                   คือ พริกขี้หนูผลใหญ่ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดฝักอ่อน กระเทียม หอมแดง พริกขี้หนูผลเล็ก ถั่วฝักยาว

                   แตงโมเนื้อ กะหล่ าปลี และคะน้า

                          เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ปีพ.ศ. 2557  พบว่า ผักและ
                   ผลิตภัณฑ์เป็นสินค้าเกษตรที่มีการส่งออกอยู่ใน 10  อันดับแรกของของประเทศ โดยมีมูลค่าการ

                   ส่งออกผักและผลิตภัณฑ์ 23,054 ล้านบาท (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558)

                          2.3.4 ข้อมูลพื้นฐานการผลิตพืชผักในพื้นที่ศึกษา


                          จังหวัดปทุมธานี เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ในการปลูกผักและไม้ดอกไม้ประดับมากเป็นอันดับ 16
                   ของประเทศ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558)  โดยปทุมธานีแบ่งเป็น 7 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอ

                   เมืองปทุมธานี อ าเภอคลองหลวง อ าเภอธัญบุรี อ าเภอลาดหลุมแก้ว อ าเภอล าลูกกา อ าเภอสามโคก
                   และอ าเภอหนองเสือ ซึ่งในปี พ.ศ. 2557 จังหวัดปทุมธานีมีพื้นที่ปลูกผักทั้งหมด 42,066 ไร่ อ าเภอ

                   หนองเสือ เป็นอ าเภอที่ปลูกพืชผักมากที่สุด โดยพื้นที่จ านวน 36,009  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85.6  ของ

                   พื้นที่ปลูกพืชผักทั้งจังหวัด และมีจ านวนเกษตรเกษตรผู้ปลูกผักจ านวน 2,773 ครัวเรือน คิดเป็นร้อย




                                                            12
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32