Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                   เพื่อน าเอาแมลงที่มีประโยชน์ดังกล่าว มาก าจัดแมลงศัตรูพืชที่ท าลายพืชผลทางการเกษตรให้ได้รับ

                   ความเสียหาย เป็นการน าเอาแมลงเข้าท าลายแมลง (พิมลพร นันทะ, 2534)
                          ส่วนวิธีการใช้สารเคมีเริ่มในปลายปีศตวรรษที่ 19 ประเทศฝรั่งเศส มีการใช้บอร์โดมิกซ์เจอร์

                   (Bordeaux mixture) ซึ่งเป็นส่วนผสมของปูนขาว (quick lime) และจุนสี ใช้ก าจัดโรครา ท าให้เกิด

                   การตื่นตัวในการค้นคว้าและวิจัยในการใช้สารเคมีเป็นวิธีการก าจัดศัตรูพืชเจริญก้าวหน้าไปมาก ต่อมา
                   ในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2  สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศซึ่งปลูกฝูายมากแห่งหนึ่งของโลก ในการ

                   ปูองกันแมลงศัตรูฝูาย เกษตรกรจะเริ่มใช้สารเคมีในแปลงปลูกฝูายตั้งแต่เริ่มออกสมอเล็กๆ จนถึง
                   ระยะเก็บเกี่ยว โดยพ่นสารเคมีสัปดาห์ละครั้ง การใช้สารเคมีกระท าไปโดยไม่มีหลักเกณฑ์ว่าเมื่อไหร่มี

                   ความจ าเป็นจะต้องพ่น ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวก็เป็นที่ยอมรับกันในหมู่นักวิชาการทางด้านการควบคุม

                   ศัตรูพืชในขณะนั้นจนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2  ปีค.ศ. 1940  เป็นต้นมา สารเคมี เช่น DDT,
                   organochlorine, organophosphate และ carbamate ถูกน ามาใช้ในการก าจัดแมลงศัตรูพืชทาง

                   การเกษตรและก าจัดศัตรูมนุษย์ทางด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวางจากนั้นเป็นต้นมา (สมพร ใจรัก
                   พันธ์, 2553 อ้างถึง อวบ สารถ้อย, 2543)


                          2.3.2 การจัดการศัตรูพืชในประเทศไทย

                          การระบาดของแมลงศัตรูทางการเกษตรโดยทั่วไป มักเกิดจากการกระท าของมนุษย์เป็น

                   ส่วนมาก เพราะการแพร่กระจายของแมลงศัตรูพืชจากแหล่งระบาดไปยังแหล่งอื่นๆ มันเกิดจากการ
                   เคลื่อนย้ายพืช หรือผลิตผลทางการเกษตรที่มีไข่หรือตัวอ่อน ตัวเต็มไวของแมลงติดไปด้วย การ

                   ควบคุมโดยวิธีกฎหมาย จะปูองกันการน าเข้าของศัตรูพืชจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศ หรือใน

                   พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ หากพบว่ามีการลักลอบเข้ามาจะต้องท าลายหรือกักกันไว้ในพื้นที่ที่ควบคุมได้
                   ปัจจุบันมีการขนส่งและเดินทางโดยทางเครื่องบิน รวมไปถึงการละเมิดกฎหมาย จึงเป็นการเปิดโอกาส

                   ให้ศัตรูพืชที่มีต้นก าเนิดมาจากต่างประเทศแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วขึ้น (กรมวิชาการเกษตร, 2535)

                   ในอดีตที่ผ่านมา ประเทศต่างๆ มีการตรากฎหมายกักกันพืชและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับศัตรูพืช
                   เพื่อให้การติดต่อค้าขายกันได้ตามเกณฑ์สินค้าปลอดศัตรูพืช ปูองกันศัตรูพืชเข้ามาในราชอาณาจักร

                   ส าหรับประเทศไทยได้มีการตรากฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวข้องกับศัตรูพืช คือ พระราชบัญญัติปูองกัน
                   โรคและศัตรูพืช พ.ศ. 2495  ช่วงเวลาต่อมา รัฐบาลจึงได้ออกพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507

                   เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานดียิ่งขึ้น เมื่อสถานการณ์ศัตรูพืชมีการเปลี่ยนแปลงไป และ

                   เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น ประเทศไทยจึงได้ออกพระราชบัญญัติกักพืช
                   ฉบับที่2 พ.ศ. 2542  เพื่อแก้ไขบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสม และเพื่อให้การอารักขาพืช

                   สามารถกระท าได้ทันต่อเหตุการณ์ ด่านกักกันพืชจึงเป็นจุดตรวจเพื่อการอารักขาพืชให้ปลอดภัยจาก
                   ศัตรูพืช (สมพร ใจรักพันธ์, 2553 อ้างถึง ราชกิจจานุเบกษา, 2542)

                          การระบาดของศัตรูพืชในประเทศไทยที่ก่อให้เกิดความเสียหายในทางเศรษฐกิจของประเทศ

                   มีหลายกรณีด้วยกัน เช่น การระบาดของโรคราน้ าค้าง หรือที่เรียกว่าโรคใบลาย ซึ่งระบาดท าความ




                                                            10
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30