Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                         บทที่ 2

                                         แนวคิดทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย


                          ในส่วนนี้เป็นการน าเสนอแนวคิดทางทฤษฎีที่น ามาใช้ในงานวิจัยนี้ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
                   แนวคิดผลกระทบของการจัดการศัตรูพืชในปัจจุบันที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และแนวคิดด้านแบบจ าลอง

                   ทางเลือกซึ่งเป็นทฤษฎีหลักที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ มีรายละเอียด ดังนี้

                   2.1 ผลกระทบของการจัดการศัตรูพืชโดยสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม


                          การใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จัดเป็นผลกระทบภายนอก ซึ่งเป็น
                   สาเหตุหนึ่งท าให้การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากกลไก

                   ตลาดและกลไกราคาไม่สามารถท างานได้หรือเกิดจากการที่ตลาดล้มเหลว สาเหตุหลักหนึ่งที่ท าให้

                   ตลาดล้มเหลว คือการเกิดผลกระทบภายนอก  (Externality)  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยชิ้นนี้เป็น
                   เรื่องของผลกระทบภายนอกเกิดเนื่องจากการด าเนินกิจการการผลิตของครัวเรือนเกษตรกรนั้น ส่งผล

                   กระทบต่อสังคม ลักษณะส าคัญ 2 ประการของผลกระทบภายนอก คือ กิจกรรมของบุคคลหนึ่งมีผล
                   ต่ออรรถประโยชน์ หรือ การผลิตของบุคคลอื่น ซึ่งมิได้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้นโดยตรง และ ผลได้

                   ผลเสียมิได้ผ่านเข้ามาในระบบตลาดหรือ ผลกระทบภายนอก หมายถึง การกระท าของบุคคลหนึ่งหรือ

                   หน่วยธุรกิจหนึ่ง แล้วส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่น หรือหน่วยธุรกิจอื่น ซึ่งมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรม
                   นั้นเลย นอกจากนั้นผลเสียหรือผลได้ที่เกิดจากการกระท าดังกล่าว ไม่สามารถน ามาตกลงกันได้โดย

                   อาศัยกลไกของการตลาด และไม่มีการชดเชยค่าเสียหายที่เกิดขึ้น (สมพร อิศวิลานนท์, 2538)

                            การวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ด้านการใช้สารก าจัดศัตรูพืชจ าเป็นต้องพิจารณา

                   ถึงมุมมองของเอกชน (เกษตรกรและผู้ประกอบการด้านสารเคมี เป็นต้น) รวมทั้งมุมมองของสังคม (ผู้
                   ก าหนด นโยบายของภาครัฐในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

                   กรมควบคุมมลพิษ เป็นต้น เกษตรกรมีจุดมุ่งหมายในการผลิตทางการเกษตรเพื่อก่อให้เกิดรายได้สุทธิ

                   สูงสุด (เช่นเดียวกับผู้ประกอบการผลิตหรือผู้จ าหน่ายสารก าจัดศัตรูพืช) ผลประโยชน์รวมของ
                   เกษตรกรจากการใช้สารก าจัดศัตรูพืชจะมีมูลค่าเท่ากับมูลค่าในการปูองกันการสูญเสียผลผลิตของ

                   เกษตรกร (Agne  and  et  al,  1995)  ต้นทุนในการใช้สารก าจัดศัตรูพืชในที่นี้ หมายถึง จ านวน

                   ทรัพยากรของฟาร์มทั้งหมดที่ใช้ไปในการปูองกันความสูญเสียแต่ละหน่วยของผลผลิต ดังนั้น ระดับ
                   การใช้สารเคมีจึงขึ้นอยู่กับการประเมินของเกษตรกรในความสูญเสียผลผลิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในการ

                   ผลิต ขึ้นอยู่กับวิธีการควบคุมว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเท่าใด และขึ้นอยู่กับต้นทุนการผลิตที่
                   เกษตรกรเข้าใจ โดยส่วนใหญ่ เกษตรกรมักจะไม่พิจารณาต้นทุนด้านสุขภาพที่เกิดจากผลกระทบของ

                   สารก าจัดศัตรูพืชที่มีต่อสุขภาพของตัวเกษตรกรเองและครอบครัว ว่าเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิต

                   จากการใช้สารก าจัดศัตรูพืช  ถ้าเกษตรกรรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น การใช้สารก าจัดศัตรูพืชมี







                                                            5
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25