Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                            นอกจากนั้นปัญหาในการจัดการศัตรูพืชที่เกษตรกรเผชิญในปัจจุบันประเด็นหนึ่ง คือ

                   ทางเลือกในการปูองกันก าจัดศัตรูพืชมีอยู่อย่างจ ากัด เกษตรกรส่วนใหญ่ของประเทศจึงตัดสินใจใช้
                   สารเคมีในการปูองกันก าจัดศัตรูพืช เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก มีสินค้าให้หาซื้อได้ง่ายในตลาดทั่วไป

                   (Wilson and Tisdell, 2001) ทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชโดยอาศัยชีววิธีมีอยู่อย่างจ ากัด หาซื้อ

                   ยาก ไม่มีขายในตลาดทั่วไป ไม่สะดวกสบายในการใช้ ต้องใช้แรงงานมากในการปูองกันก าจัด เป็นต้น
                   (สุวรรณา ประณีตวตกุล และคณะ, 2554 และ 2557) นอกจากนั้น นโยบายของภาครัฐและเอกชนใน

                   ปัจจุบันที่ส่งผลสนับสนุนให้มีการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชเพิ่มมากขึ้น เช่น การสนับสนุนสินเชื่อด้าน
                   ปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีก าจัดศัตรูพืช ท าให้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชเข้ามามีบทบาทสูงในการก าจัด

                   ศัตรูพืช นโยบายเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการควบคุมศัตรูพืชตามธรรมชาติ ท าให้ระบบนิเวศของแมลง

                   ตัวห้ าและตัวเบียนต่อโรคและแมลงศัตรูพืชเปลี่ยนแปลงไป และน าไปสู่การระบาดของโรคและแมลง
                   ศัตรูพืชอย่างรุนแรงได้

                            นโยบายของภาครัฐส าหรับการจัดการศัตรูพืชเพื่อลดการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช อันจะ
                   น าไปสู่การลดผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจึงมีความส าคัญ ทางเลือกเชิงนโยบายมี

                   หลายวิธี (Agne, et al., 1995) อาทิ นโยบายที่อาศัยการออกกฎข้อบังคับและควบคุม เช่น การห้าม

                   น าเข้าหรือใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชที่มีพิษรุนแรง เป็นต้น หรือ  นโยบายโดยอาศัยแรงจูงใจทาง
                               3
                   เศรษฐศาสตร์  (economic  incentive) เช่น การเก็บภาษีสารเคมีก าจัดศัตรูพืช เป็นต้น (Skevas,
                   Stefanou  and  Lansink,  2012;  Schreinemachers,  2015) หรือ นโยบายสนับสนุนการส่งเสริม

                   การเกษตรอย่างยั่งยืน เช่น โครงการโรงเรียนเกษตรกรในการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน เป็นต้น
                   (Praneetvatakul, Waibel and Meenakanit, 2007) นโยบายทางเลือกในแต่ละประเด็นมีข้อจ ากัด

                   และศักยภาพในการประยุกต์ใช้ที่แตกต่างกัน จึงมีความจ าเป็นต้องรวบรวมและศึกษาอย่างเป็นระบบ
                   ซึ่งงานวิจัยด้านนี้ยังมีอยู่น้อย (Anderson  and  Libecap,  2014) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่จะ

                   ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ควรศึกษาถึงทัศนคติดด้านความเสี่ยง

                   ของเกษตรกรในการประยุกต์ใช้เทคนิคทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
                   เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชในระดับสูงมักเป็นเกษตรกรที่หลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการสูญเสีย

                   ผลผลิต (Risk Averse) และนวัตกรรมหรือเทคนิคทางเลือกอาจจะถูกยอมรับได้ดีในกลุ่มเกษตรกรที่
                   หลีกเลี่ยงความเสี่ยงน้อยกว่า (Liu  and  Huang.  2013;  ธนาภรณ์ อธิปัญญากุล,  2555) และการ

                   เสนอแนะแนวทางเชิงนโยบายในการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จ าเป็นต้องศึกษาด้าน

                   ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อทางเลือกเชิงนโยบายที่จะมุ่งสู่การจัดการศัตรูพืชที่ยั่งยืน ดังนั้น การ




                   3
                      นโยบายแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง นโยบายและมาตรการของภาครัฐที่มีผลกระทบต่อแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ (ราคา ต้นทุน และ
                   ค่าใช้จ่าย)  ของบุคคลหรือองค์กร โดยท าให้ตระหนักถึงต้นทุนที่แท้จริงของทรัพยากร (Full  Cost  Pricing)  และผลกระทบภายนอก (External
                   Cost) ของกิจกรรม เช่น การใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช การใช้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง เป็น
                   การแก้ปัญหาที่ถูกต้องและแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ เนื่องจากวิธีนี้เป็นวิธีที่จะท าให้ผู้บริโภคและผู้ผลิตเกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ
                   บริโภคและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยผ่านทางกลไกราคา และท าให้เกิดความตระหนักถึงคุณค่าสิ่งแวดล้อมตามมา (ดิเรก, 2542: 239)


                                                            2
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22