Page 93 -
P. 93

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว










                  กลุ่มวิสาหกิจเพื่อการส่งออก (บ้านป่ากลาง)  ตลาดจีนหรือไต้หวัน     กลุ่มช่วยควบคุมดูแลเรื่องมาตรฐานกันเอง ช่วย ประหยัดต้นทุนการดูแลของบริษัทที่มารับซื้อ หาผู้ซื้อ  ง่ายขึ้น    รวมกลุ่มพัฒนาคุณภาพเพื่อเจาะตลาดบน   กลุ่มแจกตะกร้าและโฟมห่อมะม่วงให้กับเกษตรกร   ซื้อปัจจัยการผลิตผ่านกลุ่มทําให้ได้ราคาถูกลง   เป็นกลุ่มที่ลดหรือเลิกปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อย่างชัดเจน  เนื่องจากใช้เวลาและพื้นที่ที่มีกับการปลูกมะม่วง  คุณภาพสูง    บริษัทรับซื้อช่วยให้องค์ความร



























                  แบบดั้งเดิม (บ้านป่ากลาง)  บริโภคเอง เลี้ยงสัตว์   ไม่มี อาศัยชื่อเสียงเดิมเพราะปลูกมานาน    ไม่มี    เกษตรกรใช้ยาปราบศัตรูพืชมากกว่ากลุ่มที่ผลิต  ตามมาตรฐาน GAP    ยังมีการปลูกข้าวโพดอยู่บ้าง    เกษตรกรได้ประโยชน์จากความรู้ของกลุ่มบ้าง   แม้จะไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่ม   เกษตรกรเผชิญความกดดันจากการแข่งขันจึง ต่างพยายามรักษาเคล็ดลับการดูแลต้นมะม่วง  ของตน    ไม่มีอํานาจต่อรองราคา   เกษตรกรมักเสี่ยงรอราคาให้สูงขึ้นก่อนตัดสินใจ ขาย แต่มักพบสถานการณ์แย่ง
























                  แบบดั้งเดิม (บ้านสบเป็ด)   ไม่มี อาศัยชื่อเสียงเดิมเพราะปลูกมานาน   มีกลุ่มที่ขึ้นทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (ประมาณ 40   คน) แต่ยังไม่สามารถรวมตัวได้จริง    ยังพึ่งการใช้สารเคมีมาก   มีการใช้ระบบการจับพิกัดของหมู่บ้านเพื่อแบ่งพื้นที่ ป่า พื้นที่ทํากิน เกษตรกรรายที่ขยายพื้นที่ปลูก  ข้าวโพด ไปปลูกในพื้นที่หมู่บ้านอื่น   ไม่มีอํานาจในการต่อรองราคา   เกษตรกรมักเสี่ยงรอราคาสูงแล้วจึงเก็บขาย แต่มัก พบสถานการณ์ที่ต้องแย่งกันขายก่อนราคาตกและ  ก่อนมะม่วงสุกเกินไป


















                             การสร้างอํานาจ  การลดต้นทุน   ไม่มี   สิ่งแวดล้อม   การจัดการความรู้   ไม่มี      รูปแบบซื้อขาย   



                      เสี่ยง     ต่อรอง              การจัดการ                          ปัญหาจาก
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98