Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                          ยาก เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความไม่เสี่ยงจากการขายในตลาดทั่วไปทั้งในด้าน ราคา ปริมาณ

                          ผลผลิตที่รับซื้อ การจ่ายเงิน เป็นต้น โครงการฯ มีแผนที่จะการพัฒนาคุณภาพ ฟักแฟง แตงกวา
                          ญี่ปุ่น คะน้า กวางตุ้งใบ ให้ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP โดยคาดหวังว่าจะช่วยเพิ่มราคาและ
                                                              109
                          เพิ่มขนาดตลาดได้และลดความไม่แน่นอนได้

                       -  การขายตรงให้กับพ่อค้าคนกลาง
                                 โดยเกษตรกรอาจจะขายผลผลิตบางส่วนให้กับพ่อค้าคนกลางที่มารับซื้อในพื้นที่เองด้วย

                          โดยไม่ผ่านการประสานงานของโครงการขยายผลฯ เช่น มะม่วง
                       4.1.3.3 โครงการขยายผลโครงการหลวงบ้านถ้ําเวียงแก ตําบลนาไร่หลวง อําเภอสองแคว

                              จังหวัดน่าน

                       บ้านถ้ําเวียงแกอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ มีลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินเขาและเทือกเขาสูง
               สลับซับซ้อน สูงจากระดับน้ําทะเล 600   เมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม้ง มีแหล่งน้ําที่ใช้ในการทํา

               การเกษตร คือ ลําห้วยตาด ลําน้ําแฉ่งลํา ลําน้ําพัน และลําน้ําหุย แต่พื้นที่ยังประสบปัญหาขาดแคลนน้ําเพื่อ
               การเกษตรในช่วงฤดูร้อน เดิมเกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนภูเขา โครงการขยายผลฯ บ้านถ้ํา

               เวียงแกเข้ามาในพื้นที่ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2545  และเริ่มดําเนินงานให้ความรู้ด้านการตัดแต่งพืชไร่การปลูกมะม่วง

               และข้าวมีพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุม 6 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านถ้ําเวียงแก บ้านผาหมี บ้านน้ําพัน บ้านปางปุก บ้าน
               หางทุ่ง บ้านขุนน้ําพริก ในปี พ.ศ. 2556  โครงการฯ เริ่มสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
                                                                                                   110
               สูงในโรงเรือน เช่น พริกหวาน อะโวคาโด มะเขือเทศ เนื่องจากสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศอํานวย และมี

               ช่องทางการตลาดปัจจุบันมีทั้งหมด 59 โรงเรือน ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่หมู่บ้านถ้ําเวียงแกและบ้านผาหมี
                       แนวทางการดําเนินงานหลักของโครงการขยายผลฯ บ้านถ้ําเวียงแกคือ การสนับสนุนความรู้ ส่งเสริม

               ให้เกษตรกรปลูกไม้ใช้สอย เช่น ไผ่ ไม้จันทร์ทองเทศ การบูร ฯ ส่งเสริมการลดปริมาณการใช้สารเคมี
               สนับสนุนด้านทุนทรัพย์ในการสร้างโรงเรือนให้แก่เกษตรกร และจัดหาตลาดให้แก่กลุ่มเกษตรกรเพื่อลดพื้นที่

                                  111
               ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในการผลักดันโครงการปลูกผักโรงเรือน โครงการฯ สนับสนุนทุนการสร้างโรงเรือน
                                                             112
               แรกประมาณร้อยละ 50-70 ของต้นทุนโรงเรือนทั้งหมด  กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจะรวมตัวกันในรูป


               109 เกษตรกรที่อยู่ในโครงการปลูกผักโรงเรือน ยังต้องพัฒนาเรื่องการวางแผนช่วงเวลาการผลิตเพื่อสร้างความ

               แน่นอนให้ตลาดมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากช่วงการเพาะปลูกหรือการเก็บเกี่ยวไปตรงกับฤดูการปลูกข้าว

               ซึ่งเกษตรกรให้ความสําคัญลําดับต้น
               110
                 พริกหวานจะปลูกได้ดีในพื้นที่ที่มีอากาศหนาวเย็นและมีความสูงในระดับ 600-700 เมตรจากระดับน้ําทะเล
               111
                 เดิมเกษตรกรเคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยเฉลี่ย 30 ไร่/ครัวเรือน ปัจจุบันสามารถใช้พื้นที่ไม่ถึง 1 ไร่ ปลูกผักโรงเรือนซึ่ง
               สร้างรายได้สุทธิได้ถึงปีละ 100,000 บาทต่อโรงเรือน เกษตรกรสามารถปล่อยพื้นที่ปลูกข้าวโพดเดิมไว้เป็นป่าหรือปลูกไม้ผล
               หรือไผ่ได้
               112
                 โรงเรือนในพื้นที่บ้านถ้ําเวียงแกเป็นโรงเรือนขนาดใหญ่ประมาณ 1 งานซึ่งใหญ่กว่าโรงเรือนในพื้นที่แม่จริมและโป่งคําทําให้
               ค่าใช้จ่ายในการทําโรงเรือนสูงกว่า (ประมาณ 80,000 บาท)โครงการสนับสนุนมุ้ง พลาสติก ระบบน้ํา เมล็ดพันธุ์ เกษตรกร
               รับผิดชอบโครงไม้โรงเรือน

                                                           4-18
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94