Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-17





                              สาระสําคัญของประเด็นหลักของปญหาทั้ง 10 ประการ มีดังตอไปนี้
                                     (1.1) ขาดนโยบายที่เปนเอกภาพ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลที่เขามาบริหาร
               ประเทศบอยครั้ง ทําใหนโยบายขาดความตอเนื่อง และนโยบายที่รัฐบาลคณะตางๆ แถลงไวไมสามารถ
               ดําเนินการไมครบถวน การแกปญหาจึงไมบรรลุเปาหมาย
                                     (1.2) ขาดแผนหลักที่กําหนดขึ้นตามความรุนแรงของปญหาในลักษณะ “หนึ่ง

               นโยบาย หลายปฏิบัติ” ในระดับชาติ ระดับลุมน้ําและระดับลุมน้ําสาขา ที่ตองปฏิบัติอยางตอเนื่องถึงแมวาจะมี
               การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลก็ตาม
                                     (1.3) ขาดกฎหมายแมบท ถึงแมวาจะมีกฎหมายที่เกี่ยวของ แตมีปญหาที่ไม

               ครอบคลุมทุกดาน การขาดกฎหมายแมบทที่กําหนด “โครงสรางการบริหารจัดการน้ํา” จึงทําใหเกิดปญหาการ
               บริหารจัดการอยูในปจจุบัน
                                     (1.4) หนวยงานมีจํานวนมากขาดความเชื่อมโยง เนื่องจากแตละหนวยงานตางก็มี
               อํานาจตามกฎหมายในการปฏิบัติภารกิจโดยอิสระ ขาดการบูรณาการ จึงมีปญหาการซ้ําซอนในการดําเนินการ

                                     (1.5) ขาดการมีสวนรวมของประชาชน/ขาดการกระจายอํานาจ การกําหนด
               แผนพัฒนาโครงการแหลงน้ําสวนใหญดําเนินการโดยภาครัฐ ขาดการมีสวนรวมของประชาชน จึงมีการตอตาน
               โครงการพัฒนาแหลงน้ําของรัฐมาอยางตอเนื่อง
                                     (1.6) จัดงบประมาณเปนรายหนวยงาน เนื่องจากไมมีแผนหลักในการพัฒนา

               งบประมาณจึงไมอยูในลักษณะแผนงาน แตกระจายไปตามหนวยงานทั้งๆ ที่งบประมาณมีจํากัด เปนการใช
               งบประมาณเพื่องานประเภทเดียวกันแตตางหนวยงานซ้ําซอนกัน
                                     (1.7) ขาดความเชื่อมโยงของขอมูลระหวางหนวยงานองคความรูขอมูลทรัพยากรน้ํา
               กระจัดกระจายอยูในหนวยงานตางๆ ไมเปนระบบที่สาธารณะสามารถเขาถึงได และไมอยูในมาตรฐานเดียวกัน

               รวมทั้งขาดความเชื่อมโยงระหวางหนวยงาน
                                     (1.8) องคกรลุมน้ําขาดความเขมแข็ง/ความขัดแยง คณะกรรมการลุมน้ํามีอํานาจ
               หนาที่เพียงประสานการจัดทําแผน และติดตามประเมินผล ไมมีอํานาจในการกํากับ ดูแลหนวยงานราชการ

               และกลั่นกรองแผนงาน/โครงการในระดับพื้นที่ ที่สําคัญคือมีความขัดแยงในการบริหารจัดการน้ํา   ระหวางลุม
               น้ําที่อยูใกลเคียงกัน
                                     (1.9) พรรคการเมืองไมเขมแข็ง/มีขอตอรอง เชน การขาดแรงผลักดันทางการเมือง
               (Political will) อยางจริงจัง เชน การตรากฎหมายแมบททรัพยากรน้ํา การจัดตั้งระบบขอมูลทรัพยากรน้ํา
               การเก็บคาน้ําชลประทานจากเกษตรกร เปนตน

                                     (1.10) ขาดเครื่องมือในการจัดสรรน้ํา/สิทธิการใชน้ําอยางเสรี  ปจจุบันการใชน้ําเปด
               โดยเสรีโดยไมมีการนํามาตรการทางเศรษฐศาสตร เชน การเก็บคาน้ํามาดําเนินการ ทําใหไมเกิดความเปน
               ธรรมและขาดแคลนน้ําเกิดขึ้น

                                     ปญหาทั้ง 10 ประการ ที่สรุปจากความเห็นจากรายงานการวิจัยซึ่งเปนกลุมผูมีสวน
               ไดเสีย ดังที่วิเคราะหไวนี้จะสรุปไดวามีสาเหตุมาจากองคประกอบของโครงสรางการบริหารจัดการทรัพยากร
               น้ําทั้งจากนโยบาย องคกรการบริหารจัดการ กฎหมาย และระบบขอมูลทรัพยากรน้ํา ที่สงผลตอเนื่อง ทําให
               ขาดแผนหลัก ขาดงบประมาณ ขาดการมีสวนรวมของประชาชน ขาดแผนบรรเทาและปองกันภัยพิบัติที่มี

               ประสิทธิภาพซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไข
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75