Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-21





                       4.2.1 เขื่อนและโครงการที่มีการคัดคานจนยังไมไดกอสรางในปจจุบัน
                              (1) เขื่อนที่มีการคัดคานจนไมสามารถกอสรางไดในปจจุบันคือเขื่อนน้ําโจน จังหวัด
               กาญจนบุรี เขื่อนแกงกรุง จังหวัดสุราษฎรธานี เขื่อนแมวงก จังหวัดนครสวรรค เขื่อนแกงเสือเตน
               จังหวัดแพร เขื่อนลําโดมใหญ จังหวัดอุบลราชธานี และเขื่อนทาแซะ จังหวัดชุมพร การคัดคานเกิดจากการ
               ขาดการมีสวนรวมของประชาชนตั้งแตเริ่มโครงการ รวมทั้งปญหาที่จะมีผลกระทบระบบนิเวศ ทั้งในเขตปา

               เขตรักษาพันธุสัตวปา และเขตอุทยานแหงชาติ
                              สวนโครงการที่ยังไมไดดําเนินการคือ โครงการโขง-ชี-มูล ในสวนการผันน้ําจากแมน้ําโขงที่
               คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติมาตั้งแต พ.ศ. 2532 และที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กชน.) ไดมีมติในการ

               ประชุมครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ใหมีการเปรียบเทียบทางเลือกแนวผันน้ําโขงเขาสูภาค
               ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งไดรับการคัดคานมาตั้งแต พ.ศ. 2551 จนถึงปจจุบัน และลาสุดเครือขายประชาชนลุมน้ํา
               อีสานไดมีแถลงการณคัดคานเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2559
                             (2) กรณีโครงการที่มีการกอสรางเสร็จแลวแตมีปญหาในการบริหาร คือเขื่อนปากมูล โดยมี

               ปญหาในการเปด-ปดประตูน้ํา ที่มีการคัดคานมาตั้งแต พ.ศ. 2543 และลาสุดนายกรัฐมนตรีไดมีคําสั่งที่
               131/2558 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2558 แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการเพื่อแกไขปญหาเขื่อนปากมูลขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
                             การคัดคานโครงการพัฒนาแหลงน้ําของรัฐดังกลาวนี้ไดเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2531 ในการคัดคาน
               โครงการไฟฟาพลังน้ําแควใหญตอนบน เขื่อนน้ําโจน จ.กาญจนบุรี หลังจากนั้นก็มีการตอตานอีกหลาย

               โครงการ เชน แกงกรุง แกงเสือเตน ปากมูล ลําโดมใหญ ทาแซะ เปนตน จนคณะรัฐมนตรีตองยุติดําเนินการ
               บางโครงการ ถึงปจจุบัน (เดือนกันยายน 2559) ยังคงมีการตอตานการกอสรางเขื่อนแมวงกที่คณะรัฐมนตรีได
               อนุมัติไวเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 ซึ่งมีปญหาเรื่องการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ (EHIA)
               สาเหตุของการตอตานโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญของรัฐ นั้นอาจจะมาจากสาเหตุหลายประการซึ่งสรุป

               ไดดังนี้
                                     (1) แนวคิดในการนําทรัพยากรน้ํามาใชของหนวยงานรัฐและของชุมชนแตกตางกัน
               โครงการพัฒนาแหลงน้ําของรัฐมีวัตถุประสงคหลักคือ การใชทรัพยากรน้ําเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจในการ

               พัฒนาประเทศโดยรวม จึงมีการกําหนดนโยบายในการจัดหาน้ําใหเพียงพอกับความตองการของผูใชน้ํา หรือ
               รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (Supply management) มากกวาที่จะวางแผนบริหารจัดการตามความ
               ตองการของผูใชน้ํา (Demand management) ที่สอดคลองกับขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ
               (Carrying  capacity) สวนแนวคิดของชุมชนที่อยูในพื้นที่โครงการหรือใกลเคียงนั้น ตางก็ตองพึ่งพาความ
               สมบูรณของระบบนิเวศในการดํารงชีวิตที่ตองอาศัยทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่นั้นทั้งเปนอาหารและยาจาก

               สมุนไพร ซึ่งจะมีผลกระทบจากโครงการกอสรางจึงไดมีการคัดคาน
                                     (2) คุณภาพชีวิต ถึงแมวารัฐจะชดเชยทรัพยสินและที่ดินที่ถูกน้ําทวม รวมทั้งจัดหาที่
               อยูที่ทํากินใหใหม แตพื้นที่ที่จัดใหไปอยูใหมสวนใหญดินไมเหมาะสมสําหรับการเกษตร ขาดโครงสรางพื้นฐาน

               ที่สําคัญในการดํารงชีวิต ซึ่งเปนตัวอยางใหประชาชนหรือชุมชนในพื้นที่ที่จะมีโครงการกอสรางขึ้นใหม เห็นวา
               มีผลกระทบกับคุณภาพชีวิตของตนเอง เชน กรณีของนิคมสรางตนเอง ลําน้ํานานที่ตั้งติดอยูกับอางเก็บน้ํา
               เขื่อนสิริกิติ์ แตขาดแคลนน้ําจนรัฐบาลตองไปสรางอางเก็บน้ําแหงใหมเพื่อสงน้ํามาให เปนตน จึงไดมีการ
               คัดคานเกิดขึ้น
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79