Page 73 -
P. 73
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4-20
(2.5) วิชาการ (Technical)
สาเหตุของปญหาทางวิชาการนั้นมีหลายประการ ที่มีปญหามากก็คือ ขอมูลที่แสดง
ผลกระทบจากการสรางเขื่อน เชน กรณีแกงเสือเตน ที่มีการโตเถียง เรื่อง รอยเลื่อนและแผนดินไหวหลายครั้ง
การโตเถียงเรื่องดินเค็ม กรณีโครงการ โขง-ชี-มูล เรื่องดินเค็ม ผลประโยชนจากการสรางเขื่อนแมวงก การ
สราง Floodway ของรัฐบาลคณะที่ 60 เปนตน ที่มาของการโตเถียงกันในเรื่องนี้มีที่มาก็คือ การที่เจาของ
โครงการเปนผูศึกษาเองหรือวาจางสถาบันตางๆ ใหศึกษา ทําใหเขาใจโดยสังคมวา ขอมูลมีแนวโนมในการ
สงผลใหโครงการมีผลตอบแทนที่สูง โดยไมระบุผลกระทบที่แทจริง นอกจากนี้ยังไมมีระบบฐานขอมูลทรัพยากร
น้ําที่เปนที่ยอมรับของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ จึงเกิดปญหาและสงผลตอการตอตานโครงการตางๆ ตามมา
จากการวิเคราะหถึงปจจัยทั้ง 5 ประการ ซึ่งเปนกรอบในการบริหารจัดการนั้น
พบวาปญหาที่เกิดขึ้นนั้น เชื่อมโยงไปถึง “องคประกอบของโครงสรางการบริหาร” วาเปนสาเหตุหลักที่
จําเปนตองไดรับการปรับปรุงและแกไข
4.1.5 ขอเสนอแนะในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําไทย
เพื่อแกไขปญหาการบริหารจัดการที่เกิดจากสาเหตุตางๆ
ดังที่ไดวิเคราะหขางตนนั้น มีขอเสนอแนะที่สําคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําไทย ดังนี้
(1) ตองเรงรัดการตราพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่มีบทบัญญัติครอบคลุมโครงสรางการบริหาร
ไดแก การแตงตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ คณะกรรมการลุมน้ํา คณะอนุกรรมการลุมน้ําสาขา การ
จัดตั้งสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําที่เปนกลาง การจัดตั้งศูนยขอมูลน้ําแหงชาติ
(2) ตองแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่มีอยูในปจจุบัน ใหสอดคลองและ
เชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่จะมีการประกาศใชในอนาคต
(3) ตองปรับโครงสรางการบริหารทรัพยากรน้ําเพื่อรองรับความตองการน้ําที่เพิ่มขึ้นตาม
สภาพการขยายตัวเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
(4) กําหนดนโยบายหลักในการพัฒนาแหลงน้ํา
(5) ตองกําหนดรูปแบบการมีสวนรวมของภาคประชาชนและเอกชนในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้ํา
(6) ตองกําหนดสิทธิในการใชน้ําโดยยึดหลักการใหเกิดความเปนธรรมแกผูใชน้ําทุกกลุม
รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน
(7) ตองจัดทําระบบขอมูลทรัพยากรน้ําที่มีประสิทธิภาพ และเปนที่ยอมรับของสาธารณะ
(8) ปรับปรุงระบบงบประมาณใหเปนงบประมาณแบบบูรณาการ
(9) มีการพัฒนาแหงน้ําเปนระบบลุมน้ํา
4.2 นโยบายน้ําไทยที่มีการคัดคาน
จากการทบทวนและวิเคราะหนโยบายน้ําไทยพบวามีการคัดคาน 4 กรณี คือ (1) กรณีการคัดคานการ
กอสรางเขื่อนและโครงการพัฒนาแหลงน้ํา (2) กรณีการคัดคานแผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของ
รัฐบาลคณะที่ 60 (3) กรณีการคัดคานการเก็บคาน้ําชลประทานจากเกษตรกร และ (4) กรณีการคัดคานการ
ตราพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา โดยมีสาระสําคัญสรุปดังนี้