Page 72 -
P. 72

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-19





               จะเก็บนั้นจะไปเปนรายไดแผนดิน ทั้งๆ ที่มีตัวอยางที่ชัดเจน กรณีโครงการสงน้ําและบํารุงรักษากระเสียวที่
               เกษตรกรจัดเก็บเงินมาเปนคาใชจายของกรรมการ และถาเงินเหลือจะนําไปปรับปรุงโครงสรางชลประทาน แต
               รัฐไมมีนโยบายวาใหเกษตรกรรวมกลุมกันจัดเก็บคาน้ําชลประทานและบริหารกันเองในแตละโครงการยอยใน
               เขตชลประทาน และนําเงินนั้นมาบริหารในการบํารุงรักษาระบบชลประทาน ซึ่งจะสงผลใหมีการประหยัดน้ําที่
               เกษตรกรใชอยูในปจจุบัน ที่มาของสาเหตุอีกประการหนึ่งก็คือ การจัดทําโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญของ

               รัฐ ขาดการมีสวนรวมของประชาชนที่อยูในพื้นที่กอสรางและไดรับผลกระทบตั้งแตเริ่มตน ประชาชนจะรับรู
               เมื่อมีการจัดทํารายงาน การสํารวจแลวเสร็จ และรับฟงความคิดเห็น ขอมูลที่นํามาชี้แจงจึงไมสามารถสราง
               ความเชื่อถือแกประชาชนได


                                     (2.3) งบประมาณ (Budgeting)
                                     การพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญรวมทั้งระบบชลประทานนั้นใชงบประมาณ
               คอนขางมาก จะเห็นไดจากการกูเงินจากธนาคารโลกมาเพื่อพัฒนาการเกษตรและการชลประทานในพื้นที่ภาค

               กลางของประเทศเมื่อ พ.ศ. 2505 และเพื่อกอสรางเขื่อนอีกหลายแหง เชน เขื่อนปากมูล ในป 2534 รวมทั้ง
               การกูเงินจากธนาคารพัฒนาเอเชีย ในการปรับโครงสรางการเกษตรในป 2542 การออกพระราชกําหนดใช
               อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ําและสรางอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ซึ่งไดจัดทํา
               โครงสรางไวในวงเงิน 350,000 ลานบาท ของรัฐบาลคณะที่ 60 ตอมาในชวงรัฐบาลคณะที่ 61 เมื่อวันที่ 17
               มีนาคม 2558 คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติโครงการและเงินกูสําหรับโครงการเงินกูเพื่อพัฒนาระบบบริหาร

               จัดการน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน: มาตรการกระตุนเศรษฐกิจระยะที่ 2 ภายในกรอบวงเงิน
               78,294.85 ลานบาท ปญหาดานงบประมาณอีกประการหนึ่งคือ การมีหนวยงานที่เกี่ยวของจํานวนมากตางก็
               ไดรับงบประมาณในการดําเนินการ มีความซ้ําซอนในการปฏิบัติงาน มีมาตรฐานงานที่แตกตางกัน ทําให

               สิ้นเปลืองงบประมาณในการจัดหาอุปกรณและการบํารุงรักษา

                                     (2.4 สถาบัน (Bureaucracy)
                                     สืบเนื่องจากการมีหนวยงานที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําจํานวน

               มากถึง 29  หนวยงาน ใน 10  กระทรวงและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งตางก็มีที่มาของอํานาจในการ
               บริหารจัดการตามภารกิจที่รับผิดชอบ ทําใหขาดการประสานงานในลักษณะ “หนึ่งนโยบาย หลายปฏิบัติ
               (Centralized Policy, Decentralized Operation)” ไมสามารถประสานทั้งนโยบายและประสานแผนได ยิ่ง
               กรณีในชวงที่มีรัฐบาลผสมหลายพรรค แตละพรรคมีนโยบายของตนเอง การซ้ําซอนในการปฏิบัติงานจึงไม
               สามารถแกไขได ตัวอยางที่ชัดเจนในปจจุบัน คือกรณีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. …. โดย

               กรมทรัพยากรน้ํา และคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20  มกราคม 2558  แตมีการขอแกไขเพิ่มเติมจากสวน
               ราชการอื่นๆ ในเวลาตอมา ทั้งๆ ที่ควรจะไดมีขอยุติกอนเสนอคณะรัฐมนตรี อีกกรณีหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลง
               ในเรื่องสถาบันตลอดมา คือองคประกอบคณะกรรมการนโยบายน้ําระดับชาติ เชนคณะกรรมการแหลงน้ํา

               แหงชาติ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีการเปลี่ยนตัวบุคคลที่ทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการ และ
               สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการมาอยางตอเนื่อง จนเปนกรมทรัพยากรน้ําในปจจุบัน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77