Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-18





                              (2) สาเหตุของปญหาในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
                              เพื่อใหสามารถระบุสาเหตุหลักซึ่งเปนที่มาของปญหาในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําจะ
               วิเคราะหโดยใชปจจัยที่สําคัญในการบริหาร 5  ประการ คือ (1)  การเมือง (2)  เงื่อนไขทางสังคม (3)
               งบประมาณ (4) สถาบัน และ (5) วิชาการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                                     (2.1) การเมือง (Political)

                                     จากการวิเคราะหโดยจัดทําเปน Matrix  ใหเห็นชวงเวลาการบริหารประเทศของ
               รัฐบาลคณะตางๆ ในบทที่ 16 พบวาตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบันมีรัฐบาลเขา
               มาบริหารประเทศ รวม 61 คณะ และหลังจากมีแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติฉบับที่ 1 ถึงปจจุบันมีรัฐบาล

               เขามาบริหารประเทศจํานวน 33 คณะ คือคณะที่ 29 ถึงคณะที่ 61 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลนโยบายที่
               กําหนดอาจจะคลายคลึงกัน แตการขับเคลื่อนจะแตกตางกันไปตามนโยบายของรัฐบาลหรือของพรรคการเมืองนั้นๆ
               การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแตละครั้งทําใหขาดความตอเนื่องทั้งนโยบายและการปฏิบัติ เชน กรณีของการจัดทํา
               กฎหมายน้ํา ที่เริ่มดําเนินการมาตั้งแต พ.ศ. 2536 ถึงปจจุบันเปนเวลา 23 ป มีการเสนอรางพระราชบัญญัติ

               ทรัพยากรน้ําหลายครั้ง แตไมมีผลในทางปฏิบัติ หลายครั้งที่มีการพิจารณารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําใน
               รัฐสภา แตมีการยุบสภาหรือครบกําหนดการบริหารประเทศของรัฐบาล ทําใหรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําตกไป
               เมื่อรัฐบาลคณะใหมเขามาก็ไมมีการยืนยันใหดําเนินการตอ การขาดแรงผลักดันทางการเมือง (Political Will)
               เพื่อใหมีกฎหมายแมบทเรื่องทรัพยากรน้ํา สงผลตอเนื่องตอโครงสรางการบริหารจัดการและงบประมาณ

               เพราะการพัฒนาทรัพยากรน้ําตองใชเวลาในการดําเนินการที่ตอเนื่อง การเปลี่ยนรัฐบาลบอยครั้งทําใหการ
               ขับเคลื่อนนโยบายเปนการแกไขปญหาเฉพาะหนา ถึงแมวานโยบายที่กําหนดไวในอดีตกับนโยบายในปจจุบัน
               จะคลายคลึงกันมาก ดังที่ไดวิเคราะหเปรียบเทียบระหวางนโยบายน้ําแหงชาติ ซึ่งเปนมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 31
               ตุลาคม 2543  กับยุทธศาสตรการบริหารจัดการน้ํา (พ.ศ.  2558-2569)  ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 7

               พฤษภาคม 2558  แลวจะพบวามีสาระสําคัญที่มีความแตกตางกันนอยมาก แตชวงเวลาของการบริหาร
               ประเทศของรัฐบาลที่ไดกําหนดนโยบายแตละครั้งมีเวลาบริหารสั้นมาก คือไมเกิน 2 ป ทําใหไมสามารถ
               ขับเคลื่อนใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดขึ้นได จึงสรุปไดวาการเมืองเปนสาเหตุของปญหาหนึ่งในการบริหาร

               จัดการทรัพยากรน้ํา

                                     (2.2) เงื่อนไขทางสังคม (Social)
                                     สาเหตุที่สําคัญประการตอมาคือ เงื่อนไขทางสังคมที่ปรากฎในลักษณะการตอตาน
               โครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ ที่เริ่มมาตั้งแต พ.ศ. 2531 กรณีของเขื่อนน้ําโจน และตอเนื่องดวยเขื่อน

               แกงกรุง เขื่อนแกงเสือเตน เขื่อนแมวงก การตอตานโครงการตางๆ ดังกลาวนี้ ไดมีเหตุผลในการตอตานหลาย
               ประการ เชน (1) มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะพื้นที่ปาไมที่อุดมสมบูรณในกรณีของเขื่อนน้ําโจน และแกง
               เสือเตนที่ตองการสงวนปาไมสักทองเอาไว ผลกระทบตอที่อยูอาศัยของเสือโครงและคางคาวจมูกเล็กทองขาว
               ในกรณีของเขื่อนแมวงก ผลกระทบที่จะเกิดการขยายตัวของดินเค็มในกรณีโครงการโขง-ชี-มูล เปนตน ที่มาของ

               สาเหตุที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การอพยพโยกยายราษฎรที่ไดรับผลกระทบไปตั้งถิ่นฐานใหม มีคุณภาพ
               ชีวิตที่แยลงกวาเดิมเพราะที่ตั้งถิ่นฐานใหม ดินไมคอยจะเหมาะสมตอการเกษตร ขาดโครงสรางพื้นฐาน เชน
               กรณีของนิคมสรางตนเองลําน้ํานานที่ตั้งติดอยูกับเขื่อนสิริกิติ์ แตขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร จนตองมีการ

               กอสรางอางเก็บน้ําหวยน้ํารีสงน้ํามาใหตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 20  เมษายน 2554  เปนตน เหตุการณที่
               ปรากฎเชิงประจักษเชนนี้ทําใหการตอตานโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญจึงเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง สวนการ
               ตอตานการเก็บคาน้ําชลประทานนั้น เกษตรกรเกรงวาจะเปนการเพิ่มภาระ และตนทุนในการผลิตรวมทั้งเงินที่
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76