Page 67 -
P. 67

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-14





               ตารางที่ 4-5  สาระสําคัญที่แตกตางของรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่เสนอโดยกรมทรัพยากรน้ําและสภาปฏิรูปแหงชาติ

                                                                       ความแตกตาง
                       สาระสําคัญ
                                          รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่เสนอโดยกรม  รางพระราชบัญญัติบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่เสนอโดย
                                                     ทรัพยากรน้ํา                       สภาปฏิรูปแหงชาติ
               (1) เลขานุการ กนช.      อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา                เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ
               (2) สํานักงานเลขานุการ กนช.   กรมทรัพยากรน้ํา                สํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ หนวยงาน
                                       กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม   ระดับกรม สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี
               (3) กองทุนทรัพยากรน้ํา   ไมมี                               จัดตั้งขึ้นโดยอยูในการกํากับของ กนช.
               (4) ประธานกรรมการลุมน้ํา   ผูวาราชการในพื้นที่ลุมน้ําเลือกกันเองเพื่อเปนประธาน  เลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธาน
                                       กรรมการลุมน้ํา
               (5) การบริหารจัดการน้ําในชวงวิกฤติ  คณะกรรมการลุมน้ํา โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการ  คณะบัญชาการแตงตั้งโดย กนช.
                                       กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
               (6) การจัดสรรน้ํา       การใชทรัพยากรน้ําแบงเปน 3 ประเภท คือ   การใชน้ําในแหลงน้ําสาธารณะแบงเปน 5 ประเภท คือ
                                         (1) การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อการดํารงชีพ       (1) การใชน้ําเพื่อการดํารงชีพ
                                         (2) การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อการพาณิชย       (2) การใชน้ําเพื่อรักษาจารีตประเพณี รักษาระบบนิเวศ
                                         (3) การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อกิจการขนาดใหญ      (3) การใชน้ําเพื่อการเกษตรหรือเลี้ยงสัตว
                                                                            รายยอย อุตสาหกรรมในครัวเรือน
                                                                                 (4) การใชน้ําเพื่อการเกษตรหรือเลี้ยงสัตวเพื่อการพาณิชย
                                                                                 (5) การใชน้ําทุกประเภทเพื่อกิจกรรมขนาดใหญ
               (7) การจัดการทรัพยากรน้ําระหวาง  ไมมี                      มี
               ประเทศ                                                       มาตรา 19 (4)
                                               1)
               (8) การจัดตั้งหนวยงานดานนโยบาย  ไมมีการจัดตั้ง            มีการจัดตั้ง
               เพื่อความเปนกลาง


                   กรมทรัพยากรน้ําทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการ กนช. ซึ่งดูแลดานนโยบาย แตยังมีงานดานปฎิบัติการ คือการพัฒนาแหลงน้ําดวย
               1)

                       4.1.3 ระบบขอมูลทรัพยากรน้ําไทย
                       นโยบายเรื่องระบบขอมูลทรัพยากรน้ําไทยไดเริ่มมาตั้งแต พ.ศ. 2520 ที่กําหนดไวในแผนพัฒนา

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 แตขาดความตอเนื่องในการดําเนินการ ในปจจุบันมีหนวยงานที่จัดทํา
               ฐานขอมูลทรัพยากรน้ําอยูหลายหนวยงาน เชน กรมทรัพยากรน้ํา กรมชลประทาน กรมอุตุนิยมวิทยา กรม
               ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมควบคุมมลพิษ กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ศูนย
               เตือนภัยพิบัติแหงชาติ และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร ดังรายละเอียดในตารางที่ 4-6 จาก

               การวิเคราะหพบวามีปญหาหลายประการที่สําคัญคือ (1) ขอมูลกระจัดกระจายไมเชื่อมโยงเปนระบบ (2)
               มีความขัดแยงของขอมูลไมเปนมาตรฐานเดียวกัน (3) ขาดกฎระเบียบในการบริหารจัดการ (4) ขาดบุคลากร
               และ (5) การยอมรับของสาธารณะ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72