Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-12





                              ตอมาในป พ.ศ. 2558 กรมทรัพยากรน้ํา ไดเสนอ “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....” เขาสู
               การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558
                              ตอมาเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 สภาปฏิรูปแหงชาติไดเสนอวาระปฏิรูปใหแกรัฐบาล ซึ่งมี
               วาระปฎิรูปที่ 25 : ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํารวมอยูดวย
                              หลังจากนั้นคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2558 รับทราบขอเสนอเรื่องการปฏิรูป

               กลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และรางพระราชบัญญัติบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ของสภา
               ปฏิรูป และมอบหมายใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนหนวยงานหลักรับไปพิจารณา
               รวมกับกระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงบประมาณ และสํานักงาน

               คณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของขอเสนอดังกลาว และสรุปผลการ
               พิจารณาหรือผลการดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว และสงใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอ
               คณะรัฐมนตรีตอไป
                              ในเดือนกันยายน 2558 สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดพิจารณาเปนเรื่องเสร็จ

               ที่ 1427/2558 ซึ่งรัฐบาลไดสงใหกับสภานิติบัญญัติแหงชาติดําเนินการ ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30
               กันยายน 2558
                              ในเดือนมิถุนายน 2559 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเรื่องการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการ
               ทรัพยากรน้ําและรางพระราชบัญญัติบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... โดยมีความเห็นจากสวนราชการตางๆ และ

               มีมติใหคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝาย คือ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแหงชาติ และสภาขับเคลื่อน
               การปฏิรูปประเทศ พิจารณาความสอดคลองและความเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศตอไป
                              เมื่อวิเคราะหถึงบทบัญญัติใน (ราง) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ที่เสนอโดยกรม
               ทรัพยากรน้ํา และ (ราง) พระราชบัญญัติบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาตินั้น

               พบวามีความแตกตางระหวาง (ราง) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. …. และ (ราง)พระราชบัญญัติบริหาร
               จัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....  รวม 8 ประเด็น คือ
                                     (1) เลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

                                     รางพระราชบัญญัติที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ํามีอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําเปน
               เลขานุการ สวนรางฯ ที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติมีเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ
               เปนเลขานุการ
                                     (2) สํานักเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ
                                     รางพระราชบัญญัติที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ํา มีกรมทรัพยากรน้ําเปนสํานักงาน

               เลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ สวนรางฯ ที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติ ใหจัดตั้งสํานักงาน
               คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนหนวยงานระดับกรม สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี
                                     (3) กองทุนทรัพยากรน้ํา

                                     รางพระราชบัญญัติฯ ที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ําไมมีการจัดตั้ง กองทุนทรัพยากรน้ํา
               สวนรางฯ ที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติ มีการจัดตั้งกองทุนทรัพยากรน้ํา ภายใตการกํากับของคณะกรรมการ
               ทรัพยากรน้ําแหงชาติ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70