Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-13





                                     (4) ประธานกรรมการลุมน้ํา
                                     รางพระราชบัญญัติ ที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ํา ใหผูวาราชการในพื้นที่ลุมน้ําเลือก
               กันเองเพื่อจะเปนประธานกรรมการลุมน้ํา สวนรางฯ ที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติ ใหเลือกกรรมการคนหนึ่ง
               เปนประธานกรรมการลุมน้ํา
                                     (5) การบริหารจัดการน้ําในชวงวิกฤติ

                                     รางพระราชบัญญัติที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ํา ใหเปนหนาที่ของคณะกรรมการ
               ลุมน้ํา โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนรางฯ ที่เสนอ
               โดยสภาปฏิรูปแหงชาติ ใหมีคณะบัญชาการแตงตั้งโดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กนช.)

                                     (6) การจัดสรรน้ํา
                                     รางพระราชบัญญัติที่เสนอโดย กรมทรัพยากรน้ํา ใหแบงการใชทรัพยากรน้ํา
               ออกเปน 3 ประเภท คือ
                                            1. การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อการดํารงชีพ

                                            2. การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อการพาณิชย
                                            3. การใชทรัพยากรน้ําสาธารณะเพื่อกิจการขนาดใหญ

                                     สวนรางที่สภาปฏิรูปแหงชาติ ไดแบงการใชน้ําในแหลงน้ําสาธารณะออกเปน
               5 ประเภท คือ

                                            1. การใชน้ําเพื่อการดํารงชีพ
                                            2. การใชน้ําเพื่อรักษาจารีตประเพณี รักษาระบบนิเวศ
                                            3. การใชน้ําเพื่อการเกษตรหรือเลี้ยงสัตวรายยอย อุตสาหกรรมในครัวเรือน

                                            4. การใชน้ําเพื่อการเกษตรหรือเลี้ยงสัตวเพื่อการพาณิชย
                                            5. การใชน้ําเพื่อการใชน้ําทุกประเภทเพื่อกิจกรรมขนาดใหญ

                                     (7) การจัดการทรัพยากรน้ําระหวางประเทศ

                                     รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่เสนอโดยกรมทรัพยากรน้ํา ไมมีบทบัญญัติเรื่องการ
               จัดการน้ําระหวางประเทศ แตในรางที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติมีอยูในบทบัญญัติมาตรา 19 (4)
                                     (8) การจัดตั้งหนวยงานดานนโยบายเพื่อความเปนกลาง
                                     รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่เสนอโดยกรมทรัพยากรน้ํา ไมมีการจัดตั้ง
               หนวยงานดานนโยบาย โดยกรมทรัพยากรน้ํายังคงทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการนโยบายน้ําแหงชาติ

               และยังมีงานดานปฏิบัติการคือการพัฒนาแหลงน้ําดวย แตในรางที่เสนอโดยสภาปฏิรูปแหงชาติไดเสนอใหมี
               การจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนหนวยงานระดับกรม ในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี
               ขึ้นกําหนดนโยบายเพื่อความเปนกลาง

                                      โดยมีรายละเอียดในตารางที่ 4-5
                                     ในขณะนี้ (ตุลาคม 2559) การพิจารณา (ราง) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําทั้งสองฉบับ
               ยังไมแลวเสร็จ อยางไรก็ตามถึงแมวาจะสามารถตราพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําและประกาศใชไดแลวก็ตาม
               ยังจําเปนตองมีการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่มีอยูในปจจุบันเพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่

               จะประกาศใชดวย “การเรงรัดใหมีการพิจารณา (ราง) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําใหแลวเสร็จโดยเร็ว จึงเปน
               ประเด็นนโยบายอีกเรื่องหนึ่ง
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71