Page 64 -
P. 64

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     4-11





                              (2) การเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา
                              ถึงแมวาจะมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําซึ่งเปนที่มาของอํานาจในการบริหารจัดการ
               อยูหลายฉบับดังที่กลาวขางตนก็ตาม แตกฎหมายที่มีอยูจํานวนมากมีชองวางในการจัดการทรัพยากรน้ําโดย
               สวนรวม จึงไดมีความพยายามที่จะเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําใหมีผลบังคับใชเพื่อบูรณาการเกี่ยวกับ
               การใช การพัฒนาการบริหารจัดการ การบํารุงรักษา การฟนฟู และการอนุรักษทรัพยากรน้ําใหเกิดความเปน

               เอกภาพ และใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํามาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ไดมีการริเริ่มมาตั้งแต
               พ.ศ. 2536 ซึ่งอยูในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 แตยังไมสามารถผานการพิจารณาตาม
               ขั้นตอนตางๆจนมีผลบังคับใชไดโดยมีการรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่ดําเนินการมาแลวหลายฉบับ ดังนี้

                              พ.ศ. 2536 สภาวิจัยแหงชาติ สาขานิติศาสตร ไดจัดทํา “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....”
               และมีการสัมมนา ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2536 รางพระราชบัญญัติดังกลาวนี้
               ไดนําเสนอคณะรัฐมนตรีแตมีการถอนรางออกจากพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2537
                              ในป พ.ศ. 2536 เชนเดียวกัน คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาจัดตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ําใน

               คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปญหาภัยแลง สภาผูแทนราษฎร ไดจัดทํา   “รางพระราชบัญญัติ
               ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ” เสนอใหจัดตั้ง “กระทรวงทรัพยากรน้ํา” แตไมมีผลในทางปฏิบัติ
                              ตอมาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 ในป พ.ศ.2540 สํานักงาน
               คณะกรรมการน้ําแหงชาติ ไดเสนอ “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .....” อีกครั้งหนึ่ง และใหมีการ

               จัดตั้ง  “สํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ”  ในสํานักนายกรัฐมนตรีแตไมมีผลในทางปฏิบัติที่
               นําไปสูการประกาศใชเปนกฎหมายได
                              พ.ศ. 2542 คณะกรรมาธิการการปกครอง สภาผูแทนราษฎร ไดจัดทํา “รางพระราชบัญญัติ
               ทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .....”  โดยเสนอใหมีการจัดตั้ง “กระทรวงทรัพยากรน้ํา” แตไมมีผลในทางปฏิบัติ

                              ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 ในป พ.ศ. 2550 คณะอนุกรรมาธิการ
               ทรัพยากรน้ํา ในคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดจัดทํา
               “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .....” ขึ้นแตไมมีผลในทางปฏิบัติ

                              ในป พ.ศ. 2550 เชนเดียวกัน กรมทรัพยากรน้ํา ไดจัดทํา “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....”
               ไดผานการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีและสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จที่ 670/2550 และไดเขาสูการ
               พิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติ แตไมผานการพิจาณา
                              ในป พ.ศ. 2554 สภาผูแทนราษฎรไดจัดทํา “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....”
               แตไมมีผลในทางปฏิบัติ

                              ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ในป พ.ศ. 2556 กรม
               ทรัพยากรน้ํา ไดจัดทํา “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....” และรับฟงความคิดเห็นของประชาชน แต
               ไมมีผลในทางปฏิบัติที่จะนําไปสูการประกาศใชเปนกฎหมายได

                              ในป พ.ศ. 2556 เชนเดียวกันไดมี “รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....” ที่รางโดยภาค
               ประชาชนเขาชื่อกันซึ่งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายไดแกไขเพิ่มเติมและไดเสนอตอนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7
               มกราคม 2558
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69