Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                        ผลจากนโยบายน้ําในอดีต
                               ผลจากนโยบายน้ําในอดีตที่ยังไมสามารถแกปญหาทรัพยากรน้ําไดนั้น นอกจากนโยบายที่

                 ไมมีเอกภาพขาดความตอเนื่องแลว ยังมีสวนมาจากโครงสรางการบริหารจัดการที่มีองคประกอบคือองคกร
                 บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา คณะกรรมการระดับนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวของ และระบบขอมูลน้ําไทย ดังนี้
                               องคกรบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในปจจุบันมีจํานวนมากถึง 29 หนวยงาน  ภายใต 10
                 กระทรวง และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ปฏิบัติภารกิจทั้งในพื้นที่ตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา และภารกิจ

                 สนับสนุนหนวยงานที่มีจํานวนมากดังกลาวนี้ ตางก็ปฏิบัติหนาที่ตามอํานาจที่บัญญัติไวในกฎหมาย
                 ขาดการบูรณาการในการปฏิบัติงาน รวมทั้งขาดหนวยงานที่เปนกลางในการจัดทําแผนเปนการเฉพาะ
                 จึงมีทั้งความซ้ําซอนและขัดแยง สวนคณะกรรมการระดับนโยบายนั้น ไดมีการแตงตั้งทั้งจากคําสั่งสํานัก
                 นายกรัฐมนตรีและระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีหลายฉบับที่ปรับเปลี่ยนมาอยางตอเนื่อง ปจจุบันมี

                 คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนองคกรระดับนโยบาย แตงตั้งโดยคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ที่มี
                 นายกรัฐมนตรีเปนประธาน และอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําเปนเลขานุการคณะกรรมการ
                               กฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําไทยในปจจุบันมีจํานวน 32 ฉบับ
                 โดยมีวัตถุประสงคที่กํากับดูแลการใชน้ําเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค การอุตสาหกรรม การพลังงาน

                 การคมนาคม การอนุรักษ การควบคุมมลพิษ เปนตน แตกฎหมายที่มีอยูในปจจุบันพบวามีปญหาตอการ
                 บริหารจัดการคือ ขาดความเปนเอกภาพ มีความซ้ําซอน ลาสมัยและมีชองวางของกฎหมาย จึงไดมีการ
                 เสนอใหรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําขึ้นใหมใหเปนกฎหมายแมบทในการบริหารจัดการน้ํา

                               ไดมีความพยายามที่จะเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําเพื่อใหเปนกฎหมายแมบทมา
                 ตั้งแต พ.ศ. 2536 แตไมมีผลในทางปฏิบัติ และในปจจุบันมีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา 2 ฉบับ
                 โดยกรมทรัพยากรน้ําและสภาปฏิรูปแหงชาติ ใหรัฐบาลพิจารณา ซึ่งอยูในระหวางดําเนินการ
                               ในกรณีระบบขอมูลน้ําไทยนั้น ในปจจุบันมีหนวยงานที่จัดทําขอมูลหลายแหงและมีปญหา
                 หลายประการโดยเฉพาะการยอมรับของสาธารณะ ตอมาคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไดมีมติเมื่อ

                 เดือนเมษายน 2559 ใหมีการปรับปรุงกฎหมายจัดตั้งสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร (องคการ
                 มหาชน) เพื่อทําหนาที่เปน “คลังขอมูลน้ําและภูมิอากาศแหงชาติ”
                               จากระบบการบริหารจัดการน้ํารวมทั้งเครื่องมือที่ใชในอดีตถึงปจจุบัน ทําใหเกิดปญหา

                 รวม 10 ประการ คือ (1) ขาดนโยบายที่เปนเอกภาพ (2) ขาดแผนหลัก (3) ขาดกฎหมายแมบท (4)
                 หนวยงานมีจํานวนมากขาดความเชื่อมโยง (5) ขาดการมีสวนรวมของประชาชน/ขาดการกระจายอํานาจ
                 (6) จัดงบประมาณเปนรายหนวยงาน (7) ขาดความเชื่อมโยงของขอมูลระหวางหนวยงาน/ขาดองคความรู
                 (8) องคกรลุมน้ําขาดความเขมแข็ง/ความขัดแยง (9) พรรคการเมืองไมเขมแข็ง มีขอตอรอง และ (10)

                 ขาดเครื่องมือในการจัดสรรน้ํา/สิทธิการใชน้ําเสรี
                               ตอเนื่องจากปญหาการบริหารจัดการที่ขาดการมีสวนรวมของประชาชน ที่มิไดเริ่มมา
                 ตั้งแตกําหนดโครงการและจากสาเหตุผลกระทบตอระบบนิเวศของโครงการ ทําใหมีการคัดคานนโยบายน้ํา
                 ของรัฐ เชน การคัดคานโครงการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ เชน เขื่อนน้ําโจน เขื่อนแกงกรุง เขื่อนแกงเสือเตน

                 เขื่อนแมวงก โครงการผันน้ําจากแมน้ําโขง เปนตน รวมทั้งการเก็บคาน้ําชลประทานเพื่อการเกษตร
                 ตลอดจนการคัดคานรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา






                                                              จ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12