Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                   สรุปสําหรับผูบริหาร


                                   โครงการวิจัยเรื่อง “นโยบายน้ําไทย : ฐานความรูเพื่ออนาคต”

                        ในชวงปลายป 2554 ไดเกิดอุทกภัยที่รุนแรงขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือตอนลางและภาคกลางของประเทศไทย

                 สรางความเสียหายมีมูลคาสูงถึง 1.4 ลานลานบาท หลังจากนั้นเพียง 3 ป ในปลายป 2557 ถึงป 2558 ก็ได
                 เกิดภัยแลงอยางรุนแรงขึ้นในพื้นที่บางสวนของประเทศทั้งในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง
                 ที่ขาดแคลนน้ําจนไมสามารถทํานาปไดสงผลตอระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ วิกฤติน้ําที่เกิดขึ้นอยาง
                 รุนแรงทั้งอุทกภัยและภัยแลงนี้ไดรับความสนใจจากสังคมไทยวาวิกฤติดังกลาวเกิดขึ้นดวยสาเหตุใด เปนเพราะ

                 การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศหรือเกิดจากนโยบายการบริหารจัดการน้ําที่ผิดพลาดอยางใดอยางหนึ่งหรือ
                 เปนผลรวมของสาเหตุทั้ง 2  ประการ หากพิจารณาถึงสาเหตุทั้ง 2  ประการที่กลาวขางตนแลว  การเปลี่ยนแปลง
                 ภูมิอากาศทั้งฝนตกมากจนน้ําทวมหรือฝนตกนอยสงผลใหเกิดภัยแลงนั้นเปนปจจัยที่ไมสามารถจะควบคุมได
                 แตนโยบายนั้นสามารถกําหนดขึ้นเพื่อรองรับสถานการณอุทกภัยและภัยแลงดังกลาวไดตามควรแกกรณี

                 อยางไรก็ตามจากการศึกษาในอดีตของสถาบันและนักวิชาการตางๆ  เชน  สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
                 ประเทศไทย และคณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พบวานโยบายน้ํา
                 ในอดีตไมมีเอกภาพและไมมีการบูรณาการควรมีการแกไข    แมแตยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
                 (ป พ.ศ. 2558-2569) ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ก็ยังคงมีขอสังเกตจากผูมี

                 สวนไดเสียวาไมมีรายละเอียดโครงการและการลงทุน ประกอบกับในขณะนี้เขื่อนใหญ 4 เขื่อน ที่สงน้ําใหกับ
                 ลุมน้ําเจาพระยามีน้ําในเขื่อนนอยมากเหมือนชวงเริ่มตนที่เขื่อนเพิ่งจะกอสรางแลวเสร็จและเริ่มสะสมน้ํา ซึ่ง
                 อาจจะใชเวลาหลายปเพื่อใหมีปริมาณเก็บกักตามที่ไดกําหนดไว จึงมีความจําเปนที่จะตองทบทวนวา
                 นโยบายน้ําในอดีตนั้น ไดกําหนดไวอยางไรเพื่อรองรับสถานการณที่ผานมา ซึ่งอาจจะตองกําหนดนโยบายน้ํา

                 ในอนาคตขึ้นใหม เมื่อศึกษาเบื้องตนพบวารัฐไทยไดกําหนดนโยบายน้ํามาเปนเวลาชานานตั้งแตกรุงสุโขทัย
                 จนถึงปจจุบัน แตนโยบายน้ําดังกลาวนี้มีที่มาจากหลายแหลง  ทั้งจากกฎและระเบียบ คําแถลงนโยบายของ
                 คณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตางๆ มติคณะรัฐมนตรี และแผนบริหาร
                 ราชการแผนดิน เปนตน นโยบายน้ําเหลานี้ไมมีการรวบรวมไวในที่เดียวกัน การคนควาและศึกษาจึงใชเวลามาก

                 และไมครบถวนตอการนําบทเรียนในอดีตมาวิเคราะหเพื่อประกอบการตัดสินใจหากจะกําหนดนโยบายขึ้น
                 ในอนาคตจึงมีความจําเปนที่จะตองจัดทําฐานขอมูลนโยบายน้ําขึ้นเพื่อใชประโยชนในการคนควา และเปน
                 เอกสารอางอิง ตลอดจนเปนการบันทึกประวัติศาสตรการกําหนดนโยบายในอดีตจนถึงปจจุบันวาเปนมา

                 อยางไรอีกประการหนึ่งดวย

                        วัตถุประสงค
                               โครงการวิจัยเรื่อง “นโยบายน้ําไทย : ฐานความรูเพื่ออนาคต” มีวัตถุประสงค 5 ประการ คือ
                               1. เพื่อรวบรวมนโยบายน้ําที่ไดกําหนดขึ้นจากอดีตถึงปจจุบัน

                               2. จัดทําฐานขอมูลนโยบายน้ําเรียงตามลําดับเวลาในลักษณะจดหมายเหตุเพื่อใหอนุชนใช
                 คนควาและอางอิง
                               3. เพื่อศึกษาปญหา สาเหตุของปญหาและปจจัยที่เปนสาเหตุใหนโยบายน้ําที่กําหนดขึ้นใน
                 ชวงเวลาตางๆ มีความสอดคลองหรือเปลี่ยนแปลง รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นจากนโยบาย

                               4. เพื่อศึกษาสถานการณทรัพยากรน้ําและการบริหารจัดการในปจจุบัน
                               5. เพื่อเสนอประเด็นสําคัญที่จะนําไปใชในการกําหนดนโยบายน้ําในอนาคต



                                                             ข
   1   2   3   4   5   6   7   8   9