Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




              กรรมสิทธิ์พื้นที่เพาะเลี้ยง เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่าการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะช่วย
              ให้ราคาปลาสวายที่ขายได้เพิ่มขึ้น รองลงไปมากกว่าครึ่งเห็นว่าจะมีทางเลือกปัจจัยการผลิตมาก
              ขึ้น อาจมีต่างชาติเข้ามาลงทุนเพาะเลี้ยงปลาสวายในประเทศไทยเนื่องจากมีภูมิประเทศเหมาะ
              แก่การเลี้ยงปลาในบ่อดิน ทั้งนี้พื้นที่ที่เกษตรกรที่ให้ความเห็นด�าเนินการเพาะเลี้ยงอยู่เป็นพื้นที่ริม

              บึงบอระเพ็ดซึ่งเป็นแหล่งที่มีน�้าอุดมสมบูรณ์ แรงงานจากประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อาจเข้ามา
              ท�างานเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ามากขึ้นโดยเข้าไปท�างานในฟาร์มขนาดใหญ่และแรงงานที่เข้ามาจะต้อง
              เป็นแรงงานมีทักษะการเลี้ยงปลาสวายอยู่บ้าง มีน้อยกว่าครึ่งที่เห็นว่าจะมีผู้ประกอบการไปลงทุน
              เลี้ยงปลาสวายในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นซึ่งเห็นว่าน่าจะเป็นที่สหภาพพม่า การเป็นประชาคม
              เศรษฐกิจอาเซียนท�าให้มีการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นดังนั้นอาจส่งผลมาตรฐานสินค้าดีขึ้น
              แต่มีโอกาสที่จะน�าไปสู่การแย่งชิงกันใช้ทรัพยากรที่มีจ�ากัดในประเทศไทย (ตารางผนวกที่ 4)
                   โดยสรุปการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าจืดของไทยได้พัฒนาไปมากมีรูปแบบการเพาะเลี้ยงหลากหลาย
              ในกลุ่มของสัตว์น�้าจืดปลานิลเป็นสัตว์น�้าจืดที่มีการเพาะเลี้ยงกันมากเป็นอันดับหนึ่งของไทย
              รองลงมาได้แก่การเพาะเลี้ยงปลาดุก ส่วนกุ้งก้ามกราม ปลาตะเพียน ปลาสลิด และปลาสวาย

              มีการเพาะเลี้ยงกระจายอยู่ตามพื้นที่ต่างๆ แต่ก็มีศักยภาพที่จะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ผลผลิตสัตว์
              น�้าจืดที่เพาะเลี้ยงได้ส่วนใหญ่ใช้บริโภคในประเทศการค้ากับสมาชิกอาเซียนในสินค้ากลุ่มดังกล่าว
              ยังมีน้อย เพราะแต่ละประเทศก็มีแหล่งผลิตและการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าจืดของตนเอง










































                          สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน >> I 89 I
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103