Page 91 -
P. 91
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บทที่ 4
บทที่ 4
กระบวนการคายระเหยน ้า
กระบวนการคายระเหยน ้า
Evapotranspiration Processes
4.1 กระบวนการระเหยน
4.1 กระบวนการระเหยน ้าและกระบวนการคายระเหยน ้า
4.2 การคาดคะเนการระเหยน ้าจากแหล่งน ้า
4.3 การคายระเหยน ้า
สาระส าคัญของกระบวนการคายระเหยน ้า กล่าวถึง กลไกของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของน ้าจากของเหลวเป็ นไอน ้า กลไกดังกล่าวเกิดขึ้นที่ผิวน ้าของแหล่งน ้า
และผิวน ้าของช่องว่างในดินและในใบไม้ กลไกของการระเหยน ้าภายใต้อิทธิพล
ของพลังงานสุทธิจากดวงอาทิตย์และโลก และกลไกการระเหยน ้าภายใต้
อิทธิพลของการเคลื่อนที่ของอากาศ และการคาดคะเนการระเหยน ้าจากแหล่ง
น ้า ตลอดจนการคาดคะเนการคายระเหยน ้าจากพืชและการระเหยน ้าจากดินใน
พื้นที่ลุ่มน ้า
4.1 กระบวนการระเหยน ้าและกระบวนการคายระเหยน ้า (Evaporation and
Evapotranspiration Processes)
การถ่ายเทมวลของไอน ้าจากแหล่งน ้า จากพืชและจากผิวดินสู่บรรยากาศ เป็นกระบวนการ
ส าคัญที่ท าให้วัฏจักรของน ้าด าเนินไปได้อย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ เมื่อมีน ้าระเหยจากแหล่งน ้าสู่
บรรยากาศจะท าให้อากาศมีความชุ่มชื้นมากขึ้น แต่อากาศชื้นเบากว่าอากาศแห้งจึงลอยขึ้นสู่
ระดับสูงพร้อมกับอุณหภูมิลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้นเมื่อมีระดับความชื้นเพิ่มขึ้นจนถึง
ระดับอิ่มตัวด้วยไอน ้าจึงกลั่นตัวเป็นละอองน ้า ละอองน ้ารวมตัวกันเป็นก้อนเมฆจนกระทั่งตกลง
มาเป็นฝน
กระบวนการระเหยน ้า เป็นกระบวนการเปลี่ยนสถานะของน ้าจากของเหลวเป็นไอน ้า เป็น
กระบวนการที่เกิดขึ้นบริเวณผิวน ้าของแหล่งน ้า และบริเวณผิวเว้าของน ้าที่บรรจุในช่องว่างภายใน