Page 96 -
P. 96
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
78 กระบวนการคายระเหยน ้า
อัตราการระเหยน ้าจากแหล่งน ้า = อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณการกักเก็บน ้า +
อัตราการรั่วซึมของน ้าผ่านผิวด้านข้างและด้านล่างของแหล่งน ้า
d
-(dm /dt) = ( dV) + 1 d ( V dA) . . . (4.4)
v
w
w
dt A dt
เมื่อ m = มวลของน ้าที่ระเหยเป็นไอน ้า = m = มวลของไอน ้า
v
= ความหนาแน่นของน ้า มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
w
A = พื้นที่ผิวน ้าของแหล่งน ้า มีหน่วยเป็นตารางเมตร
แต่ไม่มีการรั่วซึมจากผิวด้านข้างและผิวด้านล่างของแหล่งน ้า ดังนั้น 1 d V dA = 0
w
A dt
d
และอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของการกักเก็บน ้า ( dV) เขียนได้เป็น
w
dt
d
( dV) = A(dH/dt) . . . (4.5)
w
w
dt
ดังนั้นจากสมการที่ (4.4) และ (4.5) จะได้
-( dm /dt) = A (dH/dt)
v
w
-( dm /dt) = A E . . . (4.6)
v
w
v
เมื่อ E = (dH/dt) หมายถึง อัตราการระเหยน ้า มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อวินาที
v
-1
(mm s ) หรือ มิลลิเมตรต่อวัน (mm day )
-1
dH = ระดับน ้าในอ่างเก็บน ้าที่เปลี่ยนแปลงไป มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร (mm)
เมื่อน ้าระเหยเป็นไอน ้าซึ่งมีสถานะเป็นแก๊สลอยขึ้นไปผสมกับอากาศแห้ง
กลายเป็นอากาศชื้น โดยปกติอากาศชื้นเบากว่าอากาศแห้งจึงลอยขึ้นสู่ระดับที่มีความสูงมากขึ้น
ปริมาณไอน ้าในอากาศเขียนได้ในรูปของอัตราส่วนระหว่างมวลของไอน ้าต่อมวลของอากาศชื้น
หรือเรียกว่า ความชื้นจ าเพาะ (specific humidity) ดังความสัมพันธ์ต่อไปนี้
ความชื้นจ าเพาะ (q) คือ อัตราส่วนระหว่างมวลของไอน ้าในบรรยากาศกับมวล
ของอากาศชื้น มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อกิโลกรัม
q = (m /m ) = (m /V)/(m /V) = ( / ) = /( + ) . . . (4.7)
v
v
v
v a
a
d
v a
เมื่อ = ความหนาแน่นของอากาศแห้ง มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
d
= ความหนาแน่นของไอน ้า มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
v