Page 95 -
P. 95

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                       อุตุนิยมวิทยา  77








                              u  =  ความเร็วลมเฉลี่ยแต่ละวัน ที่ระดับความสูง 2.0 เมตร มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที

                                    จากสมการที่ (4.1) เมื่อเปลี่ยนรูปใหม่ จะได้

                                            E  + P  = P  + R  – R  – S                                    . . . (4.3)
                                              v
                                                  erc
                                                       r
                                                               2
                                                           1
                                     จากความสัมพันธ์ในสมการที่ (4.3) น าผลที่ท าการวัดได้ในช่วงเวลาหลายเดือนมา
                                                                                a
                                                                             s
                                                        r
                       สร้างกราฟของความสัมพันธ์ระหว่าง P  + R  – R  – S และ u(e  - e ) จะได้กราฟเส้นตรง ซึ่งมีค่า
                                                                2
                                                            1
                       ตัดแกนตั้ง คือ P   และค่าของความชันของกราฟ คือ ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทไอน ้า (Vapor
                                      erc
                       transfer  coefficient,  K)  จากความสัมพันธ์ในกราฟเส้นตรงนี้ สามารถค านวณปริมาณน ้าที่ระเหย
                       จากแหล่งน ้าได้


                                        P  + R  – R  - S
                                         r
                                                2
                                             1
                                                   ความชัน = K         x
                                                                 x
                                                x       x   x       x

                                          P    x     x
                                           erc
                                              0                                 u(e  – e )
                                                                                     a
                                                                                  s

                       ภาพที่  4.2  ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน ้าระเหยจากแหล่งน ้ากับผลคูณระหว่างความเร็วลม

                                 และความแตกต่างของความดันไอน ้าที่ผิวน ้าและที่ระดับเหนือผิวน ้า 2 เมตร


                              4.2.2   การคาดคะเนการระเหยน ้าโดยวิธีสมดุลของพลังงาน


                                     การศึกษาปริมาณน ้าระเหยจากแหล่งน ้าโดยวิธีสมดุลของพลังงาน พิจารณาจาก
                       ปริมาณพลังงานสุทธิที่ถูกใช้ไปในกระบวนการต่างๆ เช่น กระบวนการระเหยน ้า (evaporation

                       process) กระบวนการเพิ่มอุณหภูมิของอากาศ (sensible heat process) และกระบวนการสะสมความ

                       ร้อนไว้ในดิน (soil heat storage process) ซึ่งต้องใช้หลักการด้านความต่อเนื่องหรือสภาพทรงมวล
                       (conservation  of  mass  condition)  เมื่อพลังงานสุทธิของพลังงานทั้งหมดในบรรยากาศท าให้เกิด
                       การเปลี่ยนสถานะของน ้าจากของเหลวกลายเป็นไอน ้า


                                     ในกรณีที่น ้าระเหยจากแหล่งน ้าสามารถค านวณได้จากหลักการด้านสภาพทรง

                       มวลของน ้าในแหล่งน ้า ซึ่งกล่าวโดยสรุปได้ว่า อัตราการระเหยน ้าจากแหล่งน ้าจะเท่ากับอัตราการ
                       เปลี่ยนแปลงปริมาตรการกักเก็บน ้ารวมกับอัตราการรั่วผ่านผิวภาชนะ ดังความสัมพันธ์ในสมการ
                       ที่ (4.4)
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100