Page 97 -
P. 97

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                       อุตุนิยมวิทยา  79








                                 =  ความหนาแน่นของอากาศชื้น มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
                               a

                                     จากหลักการด้านสภาพทรงมวลของความชื้นในอากาศ ซึ่งกล่าวถึงการเพิ่มมวล
                       ของไอน ้าในอากาศ ท าให้ปริมาณความชื้นในอากาศเพิ่มขึ้นและมีการไหลของอากาศบริเวณที่มี

                       การระเหยน ้าขึ้นไปสู่ระดับความสูงที่สูงขึ้นและมีปริมาณความชื้นน้อยกว่า ดังความสัมพันธ์ใน
                       สมการที่ (4.8)


                          อัตราการเพิ่มมวลของไอน ้า   =    อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นในอากาศ + อัตรา
                                                       การไหลของอากาศผ่านบริเวณที่มีการระเหยน ้า

                                    (dm /dt)       =       d  (     q dV) +    q  V dA          . . . (4.8)
                                                                    a
                                        v
                                                                                    a
                                                           dt
                                  แต่การไหลของอากาศผ่านเหนือผิวระเหยน ้านั้น มีการไหลอย่างสม ่าเสมอ อัตราการ
                       เปลี่ยนแปลงความชื้นจึงเป็นศูนย์


                       นั่นคือ        d  (     q dV)   =      0
                                               a
                                      dt
                       ดังนั้น              (dm /dt)       =        q   V dA                       . . . (4.9)
                                                v
                                                                         a
                                  เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง (dm /dt) ของสมการ (4.6) และ (4.9) จะได้
                                                           v

                                              A E         =      (     q V dA)
                                                                        a
                                                  v
                                              w
                                            E              =      (     q V dA) /   A           . . . (4.10)
                                                                        a
                                              v
                                                                                   w
                                  จากหลักการด้านพลังงาน (Conservation  of  energy)  ซึ่งกล่าวถึงดุลยภาพของ
                       พลังงานจากดวงอาทิตย์และพลังงานจากโลก เมื่อพลังงานช่วงคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ตกกระทบ

                       ผิวโลกแล้วบางส่วนสะท้อนกลับ แต่บางส่วนถูกดูดกลืนจึงท าให้ผิวโลกร้อนขึ้นกว่าเดิม ผสมผสาน
                       กับพลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่กระจายออกมาจากผิวโลกและบรรยากาศ ดังความสัมพันธ์ในสมการ
                       ที่ (4.11)



                                            E              =      E  – E  + E  - E                 . . . (4.11)
                                                                   sd
                                                                                 lu
                                                                             ld
                                                                        su
                                             n
                                                                                                   -2
                       เมื่อ  E   =     ปริมาณพลังงานสุทธิในบรรยากาศ มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร (W m )
                               n
                              E   =  ปริมาณพลังงานช่วงคลื่นสั้นที่แผ่กระจายออกมาจากดวงอาทิตย์ที่กระเจิงจาก
                               sd
                                      แก๊ส ไอน ้าและฝุ่นละออง และสะท้อนจากเมฆสู่พื้นผิวโลก มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อ
                                      ตารางเมตร
                              E   =  ปริมาณพลังงานช่วงคลื่นสั้นที่สะท้อนจากพื้นดินสู่บรรยากาศ มีหน่วยเป็นวัตต์
                               su
                                      ต่อตารางเมตร
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102