Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 76    กระบวนการคายระเหยน ้า








                         P   =  ปริมาณน ้าซึมซาบจากแหล่งน ้าลงสู่ชั้นน ้าใต้ดิน  มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อ
                           erc
               วัน


                          S  =  ปริมาณน ้าที่สะสมในแหล่งน ้า  มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อวัน


                         E   =  ปริมาณน ้าที่ระเหยจากแหล่งน ้า  มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อวัน
                            v








                                                         P           E
                                                                      s
                                                         r
                                           R                                          R

                                           2         s                               1


                                                                                      P
                                                                                       erc

                        ภาพที่  4.1  การคาดคะเนปริมาณน ้าระเหยจากสภาพสมดุลของน ้าในแหล่งน ้า



                            Kohler et al. (1955) เสนอความสัมพันธ์ที่ได้มาจากผลการทดลองระหว่างปริมาณ
               น ้าระเหยจากแหล่งน ้ากับความเร็วลมและความแตกต่างระหว่างความดันไอน ้าที่ผิวน ้ากับที่ระดับ
               2 เมตรเหนือผิวน ้า ดังสมการที่ (4.2)


                                                   E   =  K (e  - e )                         . . . (4.2)
                                                               a
                                                            s
                                                     v
               เมื่อ   K  =  ค่าสัมประสิทธิ์ของการถ่ายเทไอน ้าจากผิวน ้าสู่บรรยากาศซึ่งเป็นฟังก์ชันของ
                              ความเร็วลมเหนือผิวน ้า 2.0 เมตร (ความเร็วลมมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที)


                       e   =  ความดันไอน ้าอิ่มตัวเหนือผิวน ้า มีหน่วยเป็นมิลลิบาร์
                        s
                       e   =  ความดันไอน ้าในอากาศเหนือผิวน ้า 2.0 เมตร มีหน่วยเป็นมิลลิบาร์
                        a

                             สมการที่ได้จากผลการทดลองวัดปริมาณน ้าระเหยจากอ่างเก็บน ้ากวนติ้ง
               (Quanting Reservoir)ในประเทศจีน ในรูปแบบของความเร็วลมและความดันไอน ้า คือ

                                           E   =  0.23 N (1 + 0.28u) (e  – e )
                                                                  s
                                                                      a
                                                      m
                                            v
               เมื่อ   N  =  จ านวนวันในแต่ละเดือน
                        m
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99