Page 89 -
P. 89
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 71
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานส าคัญของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์แผ่กระจายพลังงาน
ออกมาในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า พลังงานส่วนใหญ่มีความยาวช่วงคลื่นระหว่าง
0.1-3.0 m เรียกว่า พลังงานช่วงคลื่นสั้น โลกแผ่กระจายพลังงานออกมาในรูปแบบของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกัน พลังงานเกือบทั้งหมดมีความยาวช่วงคลื่นระหว่าง 3-100
m เรียกว่า พลังงานช่วงคลื่นยาว พลังงานช่วงคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์แผ่กระจายเข้าสู่
พื้นผิวโลกและสะท้อนออกจากพื้นผิวโลกสู่บรรยากาศ ท าให้พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
พลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่กระจายจากโลกและแก๊สส่วนประกอบของบรรยากาศ ตลอดจนเมฆ
ฝุ่นละออง เกล็ดน ้าแข็งและไอน ้า เป็นพลังงานที่ท าให้อากาศเหนือผิวดินอบอุ่น พลังงานจาก
ดวงอาทิตย์ จากพื้นดิน บรรยากาศและน ้า ก่อให้เกิดสภาพสมดุลของระบบภูมิอากาศบนพื้น
โลก กล่าวคือ พลังงานสุทธิส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปในการระเหยน ้า ส่วนที่เหลือจะถูกเก็บไว้ใน
ดิน เพื่อให้ความอบอุ่นในเวลากลางคืน และบางส่วนถูกใช้ไปในการท าให้อุณหภูมิของอากาศ
สูงขึ้น ในกรณีที่พื้นที่แห้งแล้งไม่มีการระเหยน ้า พลังงานส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในดินแล้วคาย
ออกไปท าให้อากาศเหนือผิวดินร้อนขึ้น สภาพสมดุลของระบบพลังงานจากดวงอาทิตย์และ
โลกมีความส าคัญต่อระบบภูมิอากาศบนพื้นผิวโลกเป็นอย่างมาก
เอกสารประกอบการเรียบเรียง
Battan, L.J. 1984. Fundamentals of Meteorology. 2 ed. Prentice–Hall, Inc., Englewood Cliffs.
nd
304 p.
Chow, V.T., D.R. Maidment and L.W. Mays. 1988. Applied Hydrology. Mc Graw–Hall, Inc.,
London. 572 p.
nd
Fleagle, R.G. and J.A. Busingen. 1980. Atmospheric Physics. 2 ed. Academic Press, Inc.,
London. 434 p.
Hannu, K., P. Kroger, H. Oja, M. Poutanen and K.J. Donner. 1996. Fundamental Astronomy.
rd
3 ed. Spriner-Verlag Berlin Heidelberg, New York. 521 p.
Lee, R. 1978. Forest Microclimatology. Columbia University Press. New York.
nd
Skinner, B.J. and S.C. Porter. 1992. The Dynamic Earth. 2 ed. John Wiley & Sons, Inc.
Canada. 570 p.
nd
Trefil, J. and R.M. Hazen. 1997. The Sciences : An Integrated Approach. 2 ed. John Wiley &
Sons, Inc. Canada. 677 p.