Page 84 -
P. 84
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
66 สมดุลพลังงาน
0
เมื่อ e = ความดันไอน ้าในอากาศ มีหน่วยเป็นมิลลิบาร์ (mbar) (ความดันไอน ้าอิ่มตัวที่ 0 C มี
ค่าเท่ากับ 6.11 mbar)
T = อุณหภูมิของอากาศ มีหน่วยเป็นเคลวิน (K)
a
ในกรณีที่มีเมฆเต็มท้องฟ้ า (overcast condition) สามารถค านวณได้โดยสมการของ
สเตฟาน-โบลทซ์มานน์ เนื่องจากเมฆแสดงลักษณะสมบัติเป็นวัตถุด า ดังนั้นสภาพการแผ่กระจาย
พลังงานช่วงคลื่นยาวของเมฆ ( ) มีค่าเป็น 1 นั่น คือ
cl
4
4
E = T = T . . . (3.22)
c
lcl
c
cl
เมื่อ T = อุณหภูมิของฐานเมฆ มีหน่วยเป็นเคลวิน (K)
c
3.3.1 การสะท้อนคลื่นยาว (reflection of longwave radiation)
ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อน (albedo coefficient) คลื่นยาวของผิวน ้ามีค่าประมาณ
0.03 หรือ ประมาณร้อยละ 3 ของคลื่นยาวที่ตกกระทบผิวน ้า ซึ่งหมายความว่า ประมาณร้อยละ 97
ของคลื่นยาวที่ตกกระทบผิวน ้าจะถูกดูดกลืนโดยน ้า ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนคลื่นยาวของหิมะ
ทราย และพื้นผิวโลก มีค่าเกือบเป็นศูนย์เช่นเดียวกันกับน ้า แสดงว่าวัตถุที่ประกอบเป็นผิวเปลือก
โลกนั้นสะท้อนคลื่นยาวได้น้อยหรือเกือบไม่สะท้อนคลื่นยาว ดังนั้นพลังงานสุทธิของคลื่นยาวที่แผ่
กระจายจากบรรยากาศสู่ผิวโลกและสะท้อนจากผิวโลกสู่บรรยากาศ จึงเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
4
E = E – E = (1 – A) T
ld
ln
a
lu
l
al
E = 0.97 T
4
a
ln
al
เมื่อ E = พลังงานสุทธิของคลื่นยาวที่แผ่กระจายจากบรรยากาศและเข้าสู่ผิวโลก
ln
E = พลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่กระจายลงสู่พื้นดิน
ld
E = พลังงานช่วงคลื่นยาวที่สะท้อนจากพื้นดินสู่บรรยากาศ
lu
A = สัมประสิทธิ์การสะท้อนพลังงานช่วงคลื่นยาวของพื้นผิวโลก 0.03
l
= สภาพการแผ่กระจายพลังงานช่วงคลื่นยาวของบรรยากาศ
al
T = อุณหภูมิของบรรยากาศมีหน่วยเป็นเคลวิน
a