Page 79 -
P. 79
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 61
ในกรณีที่ท้องฟ้ ามีเมฆ (cloudy sky) เมื่อท้องฟ้ ามีเมฆชั้นกลางที่ระดับความสูง 3
ถึง 6 กิโลเมตร การกระเจิง และการสะท้อนของพลังงานช่วงคลื่นสั้นโดยก้อนเมฆ ท าให้พลังงาน
scl
จากดวงอาทิตย์ที่ผ่านบรรยากาศขณะท้องฟ้ าแจ่มใส (E ) ลดลงเป็น E ซึ่งเป็นพลังงานช่วงคลื่น
sc
สั้นที่ผ่านเมฆลงมา
E = [1 – (1 – k ) N] E . . . (3.17)
cls
scl
sc
เมื่อ N = สัดส่วนของเมฆที่ปรากฏบนท้องฟ้ า ในกรณีที่
เมฆเต็มท้องฟ้า N = 1
z = ความสูงของฐานเมฆจากพื้นผิวดิน มีหน่วยเป็นกิโลเมตร
k = สัมประสิทธิ์ซึ่งแสดงอิทธิพลของเมฆกับการลดพลังงานจากดวงอาทิตย์
cls
k = 0.18 + 0.079 z . . . (3.18)
cls
ในกรณีที่มีพืชพรรณ เช่น อ้อย หญ้า ข้าว ข้าวโพด มะม่วง ยางพารา ปาล์ม ป่าดิบ
ป่าสน ป่าเต็งรัง ปริมาณพลังงานที่ผ่านเรือนยอดของต้นไม้ลงสู่พื้นดิน (E ) จะเป็นไปตามสมการ
sg
E = k E . . . (3.19)
sg
c scl
เมื่อ k = สัมประสิทธิ์ของการส่งผ่านพลังงานผ่านเรือน
c
ยอด (transmission coefficient of plant canopy)
ตารางที่ 3.2 สัมประสิทธิ์ของการส่งผ่านพลังงานผ่านเรือนยอดของพืช
ชนิดพืช % เรือนยอด k
V
หญ้า (1 m) 80 – 90 0.18
หญ้า (0.5 m) 80 – 90 0.18
หญ้า (0.1 m) 80 – 90 0.68
สน 20 0.45
ที่มา : Richard (1978)