Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 57
พลังงานที่แผ่กระจาย 5,780 สัดส่วนเปรียบเทียบ 255
กับพลังงานสูงสุด
K
ควำมยำวช่วงคลื่น (m) K
ร้อยละของพลังงานที่ถูกดูดกลืน เหนือผิวโลก
11 กิโลเมตร
ที่ผิวโลก
ภาพที่ 3.9 กราฟของการดูดกลืนพลังงานที่แผ่กระจายจากดวงอาทิตย์ (5,780 K) และบรรยากาศ
(255 K) ที่ระดับความสูง 11 กิโลเมตรและที่ผิวโลก ที่มา : ดัดแปลงจาก Wallace and Hobbs (1977)
3.2.3 พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่ตกกระทบผิวโลก (Solar energy on earth surfece)
เออร์เรเดียนซ์ของพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านชั้นบรรยากาศและพุ่งเข้ากระทบ
ผิวโลกจะเป็นพลังงานที่ตกกระทบบนพื้นที่ที่รองรับด้วยมุมตันหรือเรเดียนซ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ต าแหน่งละติจูดของผู้สังเกต มุมเอียงของดวงอาทิตย์ และช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ท ามุมกับแนวดิ่ง
เรเดียนซ์ของพลังงานดังกล่าวเรียกว่า อินโซเลชั่น (Insolation, E ) ดังสมการที่ (3.12) และภาพที่
so
3.10
E = E sin . . . (3.12)
so
SE
sin = sin sin + cos cos cos . . . (3.13)
N
เมื่อ = มุมเงยของดวงอาทิตย์จากขอบฟ้าของครึ่งทรงกลมท้องฟ้า ณ ละติจูดที่สังเกต
= มุมเบี่ยงเบนจากแนวกลางศรีษะ (declination angle) เมื่อผู้สังเกตอยู่ที่เส้นศูนย์
สูตร