Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 52    สมดุลพลังงาน








                      3.2.1  กฎระยะทางผกผันก าลังสอง (Inverse square law)


                            กฎระยะทางผกผันก าลังสอง กล่าวว่า พลังงานที่แผ่กระจายออกมาจากแหล่งก าเนิด
               เดียวกัน  เมื่อตกกระทบบนพื้นที่ที่เท่ากันสองพื้นที่ซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งก าเนิดไม่เท่ากัน  ปริมาณ
               พลังงานบนพื้นที่นั้นๆ จะแปรผกผันกับก าลังสองของระยะทาง ดังสมการที่ (3.8)

                                                                                  2
                                 R      =      4  d  E    และ   R   =      4  d  E      . . .   (3.8)
                                                    2
                                                                FS
                                  FS
                                                                                SE
                                                   S
                                                       S
                                                                                    SE
                                                                                -1
               เมื่อ   R   =  เรเดียนท์ฟลักซ์จากดวงอาทิตย์ มีหน่วยเป็นจูลต่อวินาที (Js )
                        FS
                       E   =  เออร์เรเดียนซ์ที่โคโรน่าของดวงอาทิตย์ มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร (Wm )
                                                                                               -2
                        S
                                                                                  -2
                       E   =  เออร์เรเดียนซ์ของดวงอาทิตย์ที่นอกบรรยากาศของโลก (Wm )
                        SE
                                                                          2
                                                                2
                ดังนั้น                  R  / R   =        4 d  E  / 4 d  E
                                                                             S
                                              FS
                                          FS
                                                               SE
                                                                         S
                                                                  SE
                                                                   2
                                         E  / E    =       (d  / d )                        . . .   (3.9)
                                                            S
                                              S
                                                                SE
                                          SE
                                              8
               ถ้ารัศมีของดวงอาทิตย์  d   =  7  10  เมตร
                                     S
                                                        11
               ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์  d   =  1.5  10  เมตร
                                            SE
                                                              7
               เออร์เรเดียนซ์ที่โคโรน่าของดวงอาทิตย์  E  = 6.34  10  วัตต์ต่อตารางเมตร
                                                   S
                                                                         2
                                            E      =        E   [(d )/(d )]
                                                                  S
                                                                      SE
                                              SE
                                                            S
                                                                   7
                                                                                     11  2
                                                                           8
                                            E      =       6.34  10  [(7  10 )/ (1.5  10 )]
                                              SE
                                            E      =       1.38  10  วัตต์ต่อตารางเมตร
                                                                   3
                                              SE
                            เออร์เรเดียนซ์จากดวงอาทิตย์ที่ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นที่ 1 ตารางเมตร บริเวณผิว
               นอกของชั้นบรรยากาศของโลกมีค่าประมาณ 1,380 วัตต์ต่อตารางเมตร หรือ 2 แคลอรีต่อตาราง
               เซนติเมตรต่อนาที เรียกพลังงานนี้ว่า ค่าคงที่ของพลังงานสุริยะ (Solar constant)
                      3.2.2  การกระเจิง (scattering) และการสะท้อน (reflection)
                            การกระเจิงเกิดขึ้นเมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น อินฟราเรด แสงและอัลตราไวโอเลต
               ตกกระทบกับสสารที่มีขนาดเล็กกว่าความยาวช่วงคลื่น  (d    )  ในกรณีที่สสารมีขนาดใหญ่กว่า
               ความยาวช่วงคลื่น (d  ) ขนาดของสสารนั้นต้องใหญ่กว่าความยาวช่วงคลื่นไม่เกิน 50 เท่า (d 
               50) การกระเจิงเกิดขึ้นทุกทิศทางเมื่อแสงตกกระทบสสาร เช่น โมเลกุลของอากาศ โมเลกุลของไอ
               น ้า หมอก ละอองน ้าขนาดเล็ก จะเกิดการกระเจิงในรูปแบบของแสงเชิงกายภาพ (physical optics)

               ในกรณีที่ขนาดของสสารใหญ่กว่าความยาวช่วงคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากกว่า 50 เท่า จะเกิด
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75