Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 56    สมดุลพลังงาน








               3.45  เท่าของแสงสีแดง  (  =  0.64  m)  การกระเจิงชนิดนี้เรียกว่า  การกระเจิงแบบเรย์เล่ก์
               (Rayleigh scattering)


                                                                         4
                                  K (blue) / K (red)  =       (0.64 / 0.47)   =     3.45
                                              
                                 ดังนั้นเมื่อแสงจากดวงอาทิตย์ส่องผ่านท้องฟ้ าในเวลากลางวัน  แสงสีน ้าเงิน

               จะถูกกระเจิงโดยโมเลกุลของอากาศทุกทิศทาง  แสงที่กระเจิงลงมาสู่พื้นดินท าให้สังเกตเห็น
               ท้องฟ้าเป็นสีน ้าเงิน แสงที่ไม่ถูกกระเจิงจึงผ่านไปทางอื่น เช่น แสงสีเหลืองและแสงสีแดงจะผ่าน

               เลยไปเข้าสู่ตาของผู้สังเกตซึ่งอยู่บริเวณขอบฟ้าทั้งสองด้าน ผู้สังเกตที่อยู่ที่ขอบฟ้ าจึงเห็นท้องฟ้ ามี
               สีเหลืองและสีแดงในเวลาเช้าและเวลาเย็น

                             (2)  การกระเจิงโดยฝุ่นละอองและเกล็ดน ้าแข็งในชั้นบรรยากาศ  (atmospheric

               scattering)


                                 การกระเจิงประเภทนี้เกิดขึ้นเมื่อขนาดของอนุภาคใกล้เคียงกับขนาดของ
               ความยาวคลื่นหรือมีพารามิเตอร์ก าหนดขนาด (size parameter,  = 2r/) ระหว่าง 0.1 ถึง 50


               เรียกการกระเจิงชนิดนี้ว่า การกระเจิงแบบมี (Mie Scattering) การกระเจิงโดยฝุ่น ละอองน ้า และ
               เกล็ดน ้าแข็งที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวช่วงคลื่นของแสงท าให้ท้องฟ้ ามีสีขาวนวลไปทางสีน ้า
               เงินและสีแดง

                             (3)  การดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศ (atmospheric absorption)


                                 ในชั้นบรรยากาศมีแก๊สหลายชนิด  เช่น  O ,  H O,  CH   และแก๊สอื่นๆ  แก๊ส
                                                                         2
                                                                     2
                                                                                4
               เหล่านี้มีการเคลื่อนที่แบบทิศทางไม่แน่นอน (randomness motion) มีการหมุน การสั่นตัว และการ
               เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเพื่อรักษาสภาพพลังงานต ่าสุดของโมเลกุลของแก๊สดังกล่าว  เรียกว่า

               สภาวะเสถียรทางพลังงาน (stable energy stage condition) เนื่องจากจังหวะของความถี่ในการหมุน

               ตัวและการสั่นตัวของโมเลกุลเหล่านี้ตรงกับความถี่ของพลังงานจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าบางความ
               ยาวช่วงคลื่น  โมเลกุลของแก๊สจึงถูกกระตุ้นด้วยพลังงานจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า  การดูดกลืน

               พลังงานโดยแก๊สในบรรยากาศจึงเกิดขึ้น แต่เนื่องจากแก๊สเหล่านี้ไม่สามารถคงไว้ซึ่งระดับพลังงาน
               ไม่เสถียรเพราะการดูดกลืนพลังงานเหล่านั้นไว้จะท าให้การหมุนและการสั่นตัวของโมเลกุลเร็วมาก

               ขึ้น จึงต้องกลับสู่ระดับพลังงานเดิมพร้อมกับคายพลังงานออกมา  การดูดกลืนพลังงานเหล่านี้
               สามารถอธิบายได้โดยกราฟของการดูดกลืนพลังงานของแก๊สต่างๆ ดังภาพที่ 3.9
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79