Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


                                                                                       อุตุนิยมวิทยา   53







                       ปรากฏการณ์ทางแสงเชิงเรขาคณิต (geometrical optics) ซึ่งประกอบด้วย การสะท้อน (reflection)

                       การหักเห (refraction) การเลี้ยวเบน (diffraction) และการแทรกสอด (inteference) ของแสง ท าให้

                       เกิดการเบี่ยงเบนทิศทางของแสงไปยังทิศทางอื่น  เนื่องจากพลังงานจากดวงอาทิตย์ส่วนใหญ่มี
                       ความยาวช่วงคลื่นอยู่ในช่วงแสงสว่าง  (ร้อยละ47)  และอินฟราเรด  (ร้อยละ50)  เมื่อผ่านเข้าสู่ชั้น

                       บรรยากาศของโลก บางส่วนจะถูกกระเจิงโดยแก๊ส ฝุ่นละอองและละอองน ้าในบรรยากาศ บางส่วน
                       สามารถผ่านเข้ามาได้โดยตรง



                                   อัตราส่วนของพลังงานที่กระเจิงโดยชั้นบรรยากาศ  (dE )  ซึ่งมีความหนา  dz  ต่อ
                       พลังงานที่ตกกระทบตั้งฉากที่ผิวนอกของชั้นบรรยากาศ  (E )  จะแปรผันโดยตรงกับสัดส่วนของ

                       พื้นที่ของสสารกับพื้นที่ที่รับพลังงาน (A) และความหนาของชั้นบรรยากาศ (ภาพที่ 3.6) ดังสมการ
                       ที่ (3.10)


                                                         E
                                                           
                                                                           (90 -)
                                                                              0
                                                                                            0
                                                                    ปริมาตร (volume) = sec (90 -) dz







                                                dz



                                                                      E - dE
                                                                            
                                                                       


                        ภาพที่  3.6  พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่กระเจิงในชั้นบรรยากาศหนา dz

                                   ที่มา  :  ดัดแปลงจาก Wallace and Hobbs  (1977)


                                                                            o
                                                       dE  / E   =  K  A sec(90 - ) dz      . . .   (3.10)

                       เมื่อ   K   =  สัมประสิทธิ์การกระเจิงพลังงานเชิงพื้นที่  (scattering  area  coefficient)  ซึ่งเป็น


                                     สัดส่วนของพื้นที่ภาคตัดขวางของสสารที่กระเจิงพลังงานต่อภาคตัดขวางของ
                                     พื้นที่ที่พลังงานตกกระทบ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76