Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 58    สมดุลพลังงาน








                         =  มุมละติจูด

                          =  มุมก่อนและหลังเที่ยง (sun’s hour angle)
                        N
























               ภาพที่  3.10 เส้นทางของดวงอาทิตย์ที่สังเกต ณ ละติจูด  เมื่อเวลา   ชั่วโมงก่อนเที่ยงและเอียง
                                                                          N
                          ท ามุม  จากแนวกลางศรีษะ



                            พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่แผ่กระจายมายังผิวโลกที่ละติจูดและช่วงฤดูกาลต่างกัน
               โดยพลังงานดังกล่าวไม่ถูกกระเจิง  ไม่ถูกดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศและไม่ถูกสะท้อนโดยเมฆ

               แสดงในภาพที่ 3.11 พลังงานดังกล่าวมีค่าไม่เท่ากันเนื่องจากในช่วงวันที่ 21 หรือ 22 มีนาคมของ

               ทุกปีและวันที่ 21 หรือ 22 กันยายนของทุกปี เป็นต าแหน่งที่พลังงานจากดวงอาทิตย์ตกกระทบตั้ง
               ฉากกับผิวโลกที่เส้นศูนย์สูตร พลังงานบริเวณเส้นศูนย์สูตรจึงสูงกว่าบริเวณอื่น ต่อมาในช่วงวันที่
               21  หรือ  22  มิถุนายนของทุกปี  เป็นต าแหน่งที่ซีกโลกเหนือเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุด


               พลังงานจากดวงอาทิตย์ตกกระทบตั้งฉากกับผิวโลกที่ต าแหน่ง 23.5 องศาเหนือ  ซีกโลกเหนือจึง

               ได้รับพลังงานมากกว่าบริเวณอื่น และในช่วงวันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคมของทุกปี เป็นต าแหน่งที่ซีก
               โลกใต้เอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มากที่สุด  พลังงานจากดวงอาทิตย์ตกกระทบตั้งฉากกับผิวโลกที่

               ต าแหน่ง 23.5 องศาใต้ พลังงานที่ตกกระทบซีกโลกใต้บริเวณนี้จึงสูงกว่าบริเวณอื่น แต่ในช่วงฤดู
               ร้อนทางซีกโลกเหนือ (วันที่ 21 หรือ 22 มิถุนายนของทุกปี) จะมีพลังงานต ่ากว่าฤดูร้อนทางซีกโลก
               ใต้ (วันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคมของทุกปี) เนื่องจากระยะห่างระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ในช่วงวันที่

               21 หรือ 22 มิถุนายนของทุกปี (152 ล้านกิโลเมตร) สั้นกว่าระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ในช่วงวันที่
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81