Page 86 -
P. 86

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                 68    สมดุลพลังงาน








                       ในกรณีที่ท้องฟ้ าแจ่มใส  สภาพการแผ่กระจายพลังงานช่วงคลื่นยาวของบรรยากาศ  ( )
                                                                                                 al
               สามารถค านวณได้จากสมการที่ (3.21)

                                                  =  0.740 + 0.0049 e
                                                al
                                                 =  0.740 + 0.0049 (5.10) = 0.765


                       พลังงานสุทธิของคลื่นยาวที่แผ่กระจายจากบรรยากาศสู่ผิวโลกและสะท้อนจากผิวโลกสู่
               บรรยากาศ ค านวณได้จาก

                                          -2
                                     -8
                                             -4
               เมื่อ     =  5.67  10  W m  K
                       T   =  290 K
                        a
                                                                 4
                                                E   =  0.97    T
                                                                a
                                                           al
                                                  ln
                                                                                   4
                                                   =  0.97  0.765  5.67  10   (290)
                                                                           -8
                                                                -2
                                                   =  297.6  W m
                       จากผลการค านวณดังกล่าวสรุปได้ว่าพื้นที่อ่างเก็บน ้าในลุ่มน ้าห้วยฮ่องไคร้จะได้รับ
               พลังงานสุทธิของคลื่นยาวที่แผ่กระจายจากบรรยากาศสู่ผิวโลกและสะท้อนจากผิวโลกสู่บรรยากาศ

               297.6 วัตต์ต่อตารางเมตร


               3.4  สมดุลของพลังงาน (Energy Balance)



                      พลังงานสุทธิบนพื้นผิวโลกที่บริเวณใดก็ตามประกอบด้วย  พลังงานช่วงคลื่นสั้นจากดวง
               อาทิตย์ที่แผ่กระจายเข้ามาสู่พื้นผิวโลกและสะท้อนออกจากพื้นผิวโลกสู่บรรยากาศ  อีกส่วนหนึ่ง
               เป็นพลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่กระจายจากโลกและแก๊สส่วนประกอบของบรรยากาศ ตลอดจนเมฆ
               ฝุ่นละออง เกล็ดน ้าแข็งและไอน ้า ดังความสัมพันธ์ในสมการที่ (3.24)


                                            E   =  E  – E  + E  – E                         . . . (3.24)
                                                        su
                                                            ld
                                                   sd
                                                                 lu
                                              n
               เมื่อ   E      =      พลังงานสุทธิบนพื้นผิวโลก
                        n
                       E   =  พลังงานช่วงคลื่นสั้นที่พุ่งเข้าสู่ผิวโลก
                        sd
                       E =  พลังงานช่วงคลื่นสั้นที่พุ่งออกจากผิวโลก
                        su
                       E   =  พลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่จากบรรยากาศและเมฆเข้าสู่ผิวโลก
                        ld
                       E   =  พลังงานช่วงคลื่นยาวที่แผ่จากพื้นดินออกสู่บรรยากาศ
                        lu
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91