Page 168 -
P. 168
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
150 กระบวนการควบแน่นและหยาดน ้าฟ้า
และเนื่องจากจะพบเมฆในชั้นความสูงต่างๆ กัน จึงจ าแนกเมฆตามความสูง
ออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง เมฆชั้นต ่า และเมฆก่อตัวในแนวตั้ง ดัง
รายละเอียดในตารางที่ 6.1 และภาพที่ 6.8
ตารางที่ 6.1 ชื่อเมฆ สัญลักษณ์ ความสูงและลักษณะเฉพาะบางประการของเมฆ
ชนิด ชื่อ สัญลักษณ์ ความสูงประมาณ ลักษณะเฉพาะ
เมฆ (กิโลเมตร)
ชั้นสูง เซอร์รัส (Cirrus, Ci) 6-18 ริ้วขาวบาง
แผ่นขาวบาง
เซอร์โรสเตรตัส
(Cirrostratus, Cs)
ก้อนเล็กคล้าย
เซอร์โรคิวมิวลัส ระลอกทราย
(Cirrocumulus, Cc)
2-8
ชั้น อัลโตสเตรตัส แผ่นทึบและต ่า
กลาง (Altostratus, As) กว่า Cs ก้อน
อัลโตคิวมิวลัส ใหญ่คล้ ายฝูง
(Altocumulus, Ac) แกะ
ชั้นต ่า สเตรโตคิวมิวลัส CFC (ผิวพื้น) - 2 ลอยต ่า ก้อน
(Stratocumulus, Sc) กลมเป็นคลื่น
นิมโบสเตรตัส แผ่นหนาฟ้ ามืด
(Nimbostratus, Ns) ครึ้ม
คิวมิวลัส เมฆก้อนหนา
ก่อตัว CFC (ผิวพื้น)– 18
แนวตั้ง (Cumulus, Cu) ก้ อ น หน า ทึบ
ยอดแผ่สูง
คิวมิวโลนิมบัส
(Cumulonimbus, Cb)
รูปแบบของน ้าฟ้ าชนิดอื่นๆ
1) หมอก คือ เมฆที่สัมผัสพื้นดินขัดขวางการมองเห็นคล้ายเมฆแผ่น (Stratus)
หมอกอาจแบ่งออกได้ 3 ชนิด คือ
1. หมอกบาง (mist) สามารถมองเห็นได้ในระยะทาง ต ่ากว่า 1 กิโลเมตร
2. หมอกหนา (fog) สามารถมองเห็นได้ในระยะทางต ่ากว่า 300 เมตร