Page 163 -
P. 163
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 145
(2) เมฆพายุฝนฟ้ าคะนองชนิดเมฆเดี่ยว มีฝนตกปานกลาง หยาดน ้าฟ้ามีลักษณะ
คล้ายกับในกลุ่มเมฆ กล่าวคือ มีเมฆฝนที่ระดับต ่ากว่าระดับ 0 องศาเซลเซียส ถึง –25 องศา
เซลเซียส แต่พบอนุภาคเยือกแข็งเพียงเล็กน้อย ส าหรับผลึกน ้าแข็งพบที่ระดับสูงมากกว่า 13
กิโลเมตรขึ้นไป
(3) เมฆก่อตัวจากการพาความร้อนในระดับสูง พบว่า มีฝนตกเบาบางเป็นบริเวณ
กว้างพบผลึกน ้าแข็งที่เพิ่มขนาดแล้ว (graupel) ขนาดเล็กๆ และผลึกน ้าแข็ง รวมทั้งเกล็ดหิมะที่
ระดับล่างในเมฆ และพบการเพิ่มขนาดของผลึกน ้าแข็งที่ระดับความสูง 9 กิโลเมตร
หยดน ้าในเมฆ เมฆอุ่น o
(1,000 m) 7,500 ผลึกน ้าแข็ง (-40 C)
m
หยดน ้าและผลึก
5,500 น ้าแข็ง (-20 C)
o
m
กระแสอากาศไหลขึ้น ระดับเยือกแข็ง o
(6.5 m s ) 0
-1
C
1,000
m เมฆคิวมิวโรนิมบัส หยดน ้า
หยดน ้าในเมฆ (100 m) ผลึกน ้าแข็ง
เม็ดฝน (5,000 m)
หยดน ้า
ภาพที่ 6.6 กระบวนการเกิดฝนในเมฆอุ่น (ซ้าย) และกระบวนการเกิดฝนในเมฆอุ่นและเมฆเย็น
(ขวา)
ที่มา : ดัดแปลงจาก Ahrens (1982)