Page 169 -
P. 169

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                        อุตุนิยมวิทยา  151








                                        3.  หมอกผสมควัน  (smog)  เกิดจากไอน ้าที่ควบแน่นเป็นหยดน ้าเมื่อมี
                       ความชื้นสัมพัทธ์ใกล้ 100% ผสมกับฝุ่นควันจากโรงงานอุตสาหกรรม อาจมีสารเคมีที่เป็นพิษ เช่น

                       กรดต่างๆ ผสมอยู่ด้วย


                                    2)  ฟ้าหลัว (Haze) สภาพอากาศขมุกขมัวในท้องฟ้าท าให้เปลี่ยนสีจากสีจาง สีขาว
                       เป็นสีเหลือง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ


                                        1. ฟ้าหลัวชื้น (mist haze) เกิดจากอากาศสกปรกรวมกับอากาศชื้น มีความชื้น
                       สัมพัทธ์ต ่ากว่า 70%

                                        2. ฟ้าหลัวแห้ง (dry haze) เกิดจากอากาศสกปรกรวมกับอากาศแห้ง


                                   2)  น ้าค้าง (dew) คือ การควบแน่นของละอองน ้าบนผิวของวัตถุใกล้ผิวดิน น ้าค้าง
                       เกิดจากการคายความร้อนจากผิวดิน  เมื่อได้รับความร้อนจากแสงแดดในเวลากลางวันจนผิวดิน

                       เย็นลงและมีอุณหภูมิต ่ากว่าอากาศ จึงเกิดการถ่ายเทความร้อนจากอากาศ จนอากาศใกล้ผิวดินมี
                       อุณหภูมิลดลงและระดับความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้นถึง 100% ไอน ้าในอากาศชื้นจึงควบแน่นเป็นหยด

                       น ้าเกาะตามวัตถุใกล้ผิวดิน จึงมักพบน ้าค้างในเวลาเช้า หรืออีกกรณี เมื่ออากาศอุ่นและชื้นไหลเข้า
                       มาบริเวณผิวดินที่แห้งและเย็นท าให้เกิดการควบแน่นทางไอน ้าเป็นน ้าค้างเช่นกัน




                       ระดับความสูง                เซอร์รัส
                       40,000   เมฆชั้นสูง
                       (12 km)                               เซอร์โรสเตรตัส
                                   เซอร์โรคิวมิวลัส
                       20,000                                                                หัวทั่ง

                       (6 km)  เมฆชั้นกลาง   อัลโตคิวมิวลัส

                                                                 อัลโตสเตรตัส
                       10,000             นิมโบสเตรตัส                 เมฆก่อตัวแนวตั้ง
                       (3 km)                        สเตรตัส
                             เมฆชั้นต ่า                          คิวมิวลัสเมื่ออากาศดี   คิวมิวโลนิมบัส

                         5,000                               สเตรโตคิวมิวลัส    คิวมิวลัส
                       (1.5 km)

                                              ฝนตกธรรมดา
                        0                                  พื้นดิน                       ฝนตกหนัก


                              ภาพที่  6.8 การจ าแนกเมฆเป็นกลุ่มความสูง ลักษณะการเกิดและรูปร่างของเมฆ

                                           ที่มา  :  ดัดแปลงจาก Lutgens and Tarbuck  (1982)
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174