Page 155 -
P. 155

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  142


                          สวนที่ 1 การจัดการวัสดุ วัตถุดิบจากผูขายสินคา  (Tier) โดยฝายจัดซื้อ เพื่อใหไดตรงตาม

                   ความตองการของฝายผลิต ทั้งในดานรูปรางและคุณสมบัติตรงตามความตองการ  (Right Form) ใน
                   เวลาที่ตองการ  (Right  Time) และเมื่อโรงงานไดรับสินคาแลวก็จะตองจัดการวัสดุ   (Material

                   Management) เพื่อใหสามารถนําไปใชในการผลิต  (Production) ไดตรงตามตารางการผลิต ดวย

                   ความรวมมือกันระหวางฝายผลิตและฝายจัดซื้อในการใชเอ็มอารพี  (MRP)   จิท (JIT)   และอีดีไอ

                   เปนตน  ในการกําหนดประเภท คุณสมบัติ จํานวน วันเวลา ราคาของวัตถุดิบและวัสดุ เพื่อควบคุม
                   ตนทุนการผลิตทั้งหมด และตารางเวลาการผลิต ดังนั้น กิจกรรมของการจัดซื้อ โดยเฉพาะการ

                   จัดการโซอุปทาน นาจะสิ้นสุดลงเมื่อฝายผลิตผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปเรียบรอยแลว

                          สวนที่ 2 การจัดการวัตถุดิบ วัสดุ ซึ่งเริ่มตั้งแตการตรวจรับวัสดุ ซึ่งอาจจะเปนหนาที่ของ

                   ฝายจัดซื้อ หรือฝายผลิต หรือทั้ง 2 ฝายรวมกัน หลังจากตรวจรับวัสดุจากการจัดซื้อถูกตองเรียบรอย
                   แลว จะเปนหนาที่ของฝายผลิตโดยตรง ในการจัดการวัตถุดิบ เพื่อใชในการผลิต ถายังผลิตไมเสร็จก็

                   จะเปนงานระหวางทําที่จะตองเก็บไวในโรงงาน /คลังสินคา เพื่อรักษาทั้งปริมาณและคุณภาพ มิให

                   เกิดการเสียหาย สูญหายและใหสามารถผลิตจนเปนสินคาสําเร็จรูปได และเมื่อผลิตเป  นสินคา

                   สําเร็จรูปแลว ก็ตองทําการเก็บรักษาสินคาไวในคลังสินคาเพื่อรอการกระจายตัวสินคาไปสูตลาด


                          สวนที่ 3  สวนการกระจายตัวสินคาสูคนกลาง  (Customer) และผูบริโภค (Consumer) ตาม
                   แผนงานของฝายการตลาดและการขาย ซึ่งจะใชระบบของดีอารพีเปนหลัก สวนนี้จะรวม ถึงการรับ

                   คืนสินคา (Reverse Logistics) การจัดการของเสีย  (Obstacle) เศษเหลือ  (Salvage) และอื่นๆ จาก

                   ตลาดสูโรงงานผูผลิตดวย กิจกรรมทั้งหลายจะอาศัยระบบขอมูลขาวสารดวยอีดีไอ และการ
                   ตอบสนองอยางรวดเร็ว (Quick Response)

                          การจัดการลอจิสติกสจะตองอาศัยกระบวนการหลัก (Key Business Processes)  สําคัญ ๆ 7

                   ประการ ในการไหลของผลิตภัณฑ ไดแก

                                 1. การจัดการความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management)
                                 2. การจัดระดับการการบริการลูกคา (Customer Service Management)

                                 3. การจัดการอุปสงค (Demand Management)

                                 4. การจัดการคําสั่งซื้อ (Order Fulfillment)
                                 5. การพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Development)

                                 6. ชองทางการรับคืนสินคา (Return Channel)  ซึ่งเปนทางตรงกันขามกับการไหล

                   ของผลิตภัณฑ

                                 7. ผลงาน (Performance Metrics) เปนการสรุปรวมของของผลงานของการจัดการ
                   การกระจายตัวสินคา
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160