Page 154 -
P. 154

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  141


                                                         บทนํา

                                                     (Introduction)



                          ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวแทนจัดซื้อ  (Purchasing Agents) สําหรับผูผลิตสินคา ซื้อ

                   สินคามากกวา  1.5 ลานลานดอลลาร  (Trillion) ในแตละป ซึ่งมากพอที่จะทําใหธุรกิจตองให

                   ความสําคัญในดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดซื้อในองคกร

                          ขอบเขตของงานจัดซื้อในองคกรสวนใหญมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมายในหลากหลาย
                   รูปแบบ ทั้งในดานความรับผิดชอบจนกระทั่งสุดทา ยเรียกวา การจัดซื้อ (Purchasing) และอาจจะมี

                   ชื่ออื่น ๆ อีก เชน เชิงกลยุทธ  (Strategic Sourcing)  การจัดหา (Procurement)  การจัดการอุปทาน

                   (Supply Management) การจัดการอุปทานเชิงกลยุทธ  (Strategic Supply Management) การจัดการผู
                   เสนอขายสินคา (Supplier Management) หรือ การจัดการวัสดุ (Material Management) เปนตน

                          ถึงแมวาจะมีชื่อเรียกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา แตมิไดทําใหความสําคัญของ

                   กิจกรรมการจัดซื้อดอยคาลงได แตกลับเพิ่มคุณคามากขึ้นอยูตลอดเวลาทั้งดานสถานภาพ  (Status)

                   และความรับผิดชอบตอกิจกรรมลอจิสติกส(Logistics Activities) เพราะมูลคาการจัดซื้อมีมูลคาถึง
                   รอยละ 57 ของยอดขาย (โดยประมาณ) ในอุตสาหกรรมการผลิต มูลคาการจัดซื้อในสวนของธุรกิจ

                   บริการก็มีมูลคาและความสําคัญไมยิ่งหยอนกวากัน คือ มีมูลคาประมาณรอยละ 17 ของยอดขาย


                                           บทบาทของการจัดซื้อในโซอุปทาน


                                    (The Role of Purchasing in the Supply Chain)



                          การจัดการโซอุปทาน เปนเรื่องของการผสมผสานกันของกระบวนการของธุรกิจจากผูใช

                   คนสุดทาย (End User) เรื่อยมาจนถึงผูเสนอขายสินคาเพื่อการจัดสรรผลิตภัณฑ บริการและขอมูล
                   ขาวสารเพื่อเพิ่มมูลคาใหแกผูบริโภค ภาพ 7-1 แสดงใหเห็นบทบาทของการจัดซื้อตอโซอุปทานได

                   อยางชัดเจน การจัดซื้อเปนความรับผิดชอบตอการไหลเวียนของวัสดุในองคกร สวนการกระจายตัว

                   สินคาไดขยายขอบเขตใหมีความสัมพันธทั้งภายในและภายองคกร

                          จากภาพ จะเห็นวา การจัดการลอจิสติกส (Logistics Management) เปนการพิจารณาถึงการ

                   ไหลของผลิตภัณฑ (Product Flow) เพื่อใหไดตรงตามความตองการของแผนผลิต  (Product Flow)

                   ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 3 สวน คือ
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159